งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
133
ทางภาษาว่
าด้
วย “ความเป็
นอื่
น” ที่
เกิ
ดขึ้
นในบริ
บททางการเมื
องเรื่
องความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจระหว่างรั
ฐกั
บกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ อย่างไรก็
ตามการกั
กขั
งอั
ตลั
กษณ์ชาติ
พั
นธุ์
โดยรัฐเริ่มถูกท้าทายมากขึ้นเมื่อบริบทของโลกเปิดกว้างให้ความส�ำคัญในประเด็น
สิทธิชุมชน สิทธิมนุษยชน การเมืองนิเวศ ซึ่งเป็นเงื่อนไขส�
ำคัญในการตอบโต้ต่อ
กระบวนการกั
กขั
งอั
ตลั
กษณ์
ดั
งกล่
าว โดยเฉพาะเมื่
อปฏิ
สั
มพั
นธ์
ระหว่
างอ�
ำนาจ
เชิ
งสั
ญลั
กษณ์
ได้
สร้
างอั
ตลั
กษณ์
ความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
ที่
หลากหลายและซั
บซ้
อน
ซึ่
งถูกใช้เป็นยุ
ทธวิ
ธี
ในการต่อรองและน�ำเสนอตั
วเองที่
ลื่
นไหลไปตามเงื่
อนไขต่างๆ
นอกจากการมุ
่
งเน้
นท�
ำความเข้
าใจว่
าอั
ตลั
กษณ์
ชาติ
พั
นธุ
์
ถูกสร้
างขึ้
นมา
อย่
างไร งานศึ
กษายั
งเน้
นว่
าพรมแดนทางชาติ
พั
นธุ
์
นั้
นถูกข้
ามและสลายลงไปอย่
างไร
โดยเฉพาะอย่
างยิ่
งในพื้
นที่
ที่
มี
ความสั
มพั
นธ์
ของหลายกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เช่
นในพื้
นที่
ตลาดและการท่
องเที่
ยว เช่
นงานของทวิ
ช จตุ
วรพฤกษ์
(2548) ที่
ศึ
กษากลุ่
มชาติ
พั
นธุ
์
ในบ้านน�้
ำริ
น บ้านกึ๊
ดสามสิ
บ (ลี
ซู) บ้านบ่อไคร้ และบ้านลุ
กข้าวหลาม (ลาหู่เฌเล)
ในเขตอ�
ำเภอปางมะผ้
า จั
งหวั
ดแม่
ฮ่
องสอน ซึ่
งได้
กลายเป็
นพื้
นที่
ท่
องเที่
ยว ส่
งผลให้
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ ในพื้
นที่
แข่
งขั
นกั
นน�
ำเสนอจุ
ดเด่
นของตั
วเองให้
แตกต่
างจาก
กลุ่มอื่น กระบวนการเปลี่ยนวัฒนธรรมเป็นสินค้าท�
ำให้เส้นแบ่งพรมแดนชาติพันธุ์
พร่
าเลื
อน ไม่
ชั
ดเจน สิ
นค้
าหรื
อของที่
ระลึ
กที่
ขายให้
กั
บนั
กท่
องเที่
ยว นอกจากจะเป็
น
ภาพแสดงแทนอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ เพื่อตอบสนองความต้องการของนั
กท่องเที่ยว
แล้
ว ยั
งเป็
นพื้
นที่
ของการปะทะและผสมผสานระหว่
างกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ด้
วย การเปลี่
ยน
ภาพแสดงแทนความเป็
นของแท้
และความแปลกให้
กลายเป็
นสิ
นค้
านั้
น สามารถท�
ำได้
หลายวิ
ธี
เช่
นการดึ
งความหมายหรื
อองค์
ประกอบออกจากบริ
บททางวั
ฒนธรรมเดิ
ม
ไปใส่
ในพื้
นที่
ใหม่
ที่
มี
ความหมายต่
างจากเดิ
ม การหยิ
บยื
มความหมายทางวั
ฒนธรรม
ของกลุ่มอื่
นมาเป็นของตั
วเอง เป็นต้น
การเปลี่
ยนแปลงที่
เกิ
ดขึ้
นอย่
างรวดเร็
วในยุ
คโลกาภิ
วั
ฒน์
ที่
ผู้
คนมี
การโยกย้
าย
เข้
าเมื
องหรื
อข้
ามชาติ
ท�
ำให้
มี
การปรั
บเปลี่
ยนวิ
ถี
ชี
วิ
ตและวั
ฒนธรรม โดยรั
บเอา
วั
ฒนธรรมใหม่
ๆ ขณะเดี
ยวกั
นก็
อาจจะไม่
ตั
ดความสั
มพั
นธ์
กั
บชุ
มชนเดิ
มเสี
ยที
เดี
ยว
และอาจจะยั
งคงการปฏิ
บั
ติ
วั
ฒนธรรมดั้
งเดิ
มบางอย่
าง การด�
ำรงอั
ตลั
กษณ์
ชาติ
พั
นธุ
์