130
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
สร้
างส�
ำนึ
กเรื่
องความเป็
นชาติ
และการกู้
ชาติ
รวมทั้
งการพยายามปฏิ
เสธอิ
ทธิ
พล
ของวั
ฒนธรรมพม่
าในหลายรูปแบบ อาทิ
การตั
ดชายซิ่
นของนางร�ำลิ
เกไทใหญ่
เพื่อไม่ให้คล้ายคลึงกับนางร�
ำลิเกพม่า เป็นต้น หรือตัวอย่างงานวิทยานิพนธ์ของ
วาสนา ละอองปลิ
ว (2546) เรื่
อง “ความเป็
นชายขอบและการสร้
างพื้
นที่
ทางสั
งคมของ
คนพลั
ดถิ่
น: กรณี
ศึ
กษาชาวดาระอั้
งในอ�
ำเภอเชี
ยงดาว” ที่
แสดงให้
เห็
นว่
า คนชายขอบ
เช่นกรณี
ชาวดาระอั้
งนั้
น ถูกสร้างความเป็นชายขอบในสั
งคมไทยผ่านกระบวนการ
สร้
างความเป็
น “คนอื่
น” ภายใต้
ภาวะดั
งกล่
าวดาระอั้
งท�
ำการต่
อรองเพื่
อสร้
างพื้
นที่
ทางสั
งคมของตนโดยเลื
อกไม่
เผชิ
ญหน้
ากั
บอ�
ำนาจโดยตรง แต่
จะสร้
างผ่
านการ
น�
ำเสนออั
ตลั
กษณ์
อย่
างเลื่
อนไหลเปลี่
ยนแปลงตามความสั
มพั
นธ์
ระหว่
าง
ชาวดาระอั้
งกั
บกลุ่มอ�
ำนาจต่างๆ
นอกจากแนวคิ
ดเรื่
องอั
ตลั
กษณ์
ทางชาติ
พั
นธุ
์
ที่
ไม่
หยุ
ดนิ่
งตายตั
วแล้
ว
ยั
งเน้
นแนวคิ
ดอั
ตลั
กษณ์
ทางชาติ
พั
นธุ์
ที่
มี
ลั
กษณะพหุ
ลั
กษณ์
(Multiple identity) หรื
อ
ผสมผสาน (Mixed) หรื
อปรั
บข้
ามท้
องถิ่
น (trans-localized) หรื
อเป็
นอั
ตลั
กษณ์
ที่
ช่
วงชิ
ง
(contested identity) ในสถานการณ์
ที่
มี
การเปลี่
ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิ
จและสั
งคม
ในชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
บนพื้
นที่
สูง และการโยกย้
ายของผู้
คนข้
ามชายแดนและจากป่
า
สู่เมือง ตั
วอย่างงานของ Jonsson (2003) เรื่
อง “Mien through Sports and Culture:
Mobilizing Minority Identity in Thailand” ชี้
ให้เห็
นว่า กิ
จกรรมการแข่งกี
ฬาที่
นิ
ยม
จั
ดขึ้
นในกลุ่มชาติ
พั
นธุ์บนพื้
นที่
สูงเช่นกลุ่มเมี่
ยน (เย้า) ในช่วงทศวรรษที่
ผ่านมานั้
น
ถื
อเป็
นการน�
ำเอาความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
มาใช้
ในเรื่
องของการกี
ฬาและวั
ฒนธรรม
เป็
นการยกระดั
บความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
เมี่
ยนให้
อยู่
ในระดั
บชาติ
หรื
อท�
ำให้
เกิ
ดการ
รับรองว่าเมี่ยนเป็นส่วนหนึ่
งของชาติไทย นอกจากนี้ ยังมีงานของ Toyota (1999)
เรื่
อง ‘Trans-national Mobility and Multiple Identity Choices: The Case of Urban
Akha in Chiang Mai, Thailand’ ศึ
กษากลุ่มคนอ่าข่าที่
ย้ายเข้ามาอยู่ในเมื
อง ที่
มี
การ
รั
บเอาอั
ตลั
กษณ์
หลายแบบตามแต่
จะมี
ช่
องทาง เช่
น อั
ตลั
กษณ์
ของความเป็
นคริ
สต์
เป็นจีน เป็นอ่าข่า และมีการปรับตามสถานการณ์และช่วงชีวิต ในงานต่อมาของ
Toyota (2003) เรื่
อง “Contested Chinese Identities Among Ethnic Minorities in the China,