138
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
สิ
บปี
ที่
ผ่
านมา มี
แหล่
งทุ
นในประเทศเพิ่
มขึ้
น เช่
น ส�
ำนั
กงานกองทุ
นสนั
บสนุ
นการวิ
จั
ย
(สกว.) ภาคเหนื
อ ที่
ส่งเสริ
มให้มี
การท�
ำวิ
จั
ยโดยชุ
มชนเพื่
อสร้างความเข้มแข็
งให้แก่
ชุ
มชน ซึ่
งพบว่
าเป็
นชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
อยู่
จ�
ำนวนไม่
น้
อย นอกจากนี้
ยั
งมี
กองทุ
น
สร้างเสริ
มสุ
ขภาพ (สสส.) ที่
ส่งเสริมให้มี
งานวิ
จั
ยเพื่
อสร้างเสริมสุ
ขภาพและน�
ำไปสู่
การสร้างนโยบายสาธารณะ พบว่ามี
งานวิ
จั
ยจ�
ำนวนไม่น้อยที่
ท�ำกั
บกลุ่มชาติ
พั
นธุ์
ส�
ำหรั
บแหล่
งทุ
นต่
างประเทศที่
สนั
บสนุ
นการวิ
จั
ยในเรื่
องวั
ฒนธรรมและชาติ
พั
นธุ
์
ก็
ยั
ง
ให้ทุนสนับสนุ
นอย่างต่อเนื่องเช่น มูลนิ
ธิโตโยต้า ในขณะที่มีแหล่งทุนบางแหล่งที่
มุ่งเน้นการวิจั
ยในภูมิ
ภาคลุ่มน�้
ำโขงซึ่
งประเด็
นชาติ
พั
นธุ์ก็
เป็นประเด็
นที่
ส�
ำคั
ญ เช่น
มูลนิ
ธิ
ร็
อคกี้
เฟลเลอร์
ซึ่
งเข้
ามาตั้
งส�
ำนั
กงานที่
กรุ
งเทพตั้
งแต่
ปี
2544 และสนั
บสนุ
นให้
มี
การตั้
ง Mekong Press ที่
จั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
เพื่
อให้
มี
การผลิ
ตสิ่
งพิ
มพ์
เกี่
ยวกั
บลุ
่
มน�้
ำโขง
ในทุกๆ ด้านมากขึ้น มูลนิ
ธิเพื่อการศึกษาเอเชีย (Asian Scholarship Foundation)
ก็
เข้
ามามี
บทบาทให้
เกิ
ดการวิ
จั
ยข้
ามชาติ
ซึ่
งในระยะหลั
งนี้
ได้
ให้
ทุ
นแก่
นั
กวิ
ชาการจี
น
เข้
ามาท�
ำการศึ
กษาวิ
จั
ยประเด็
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
และข้
ามรั
ฐชาติ
ในภาคเหนื
อของไทย
และประเทศเพื่
อนบ้านมากขึ้
น
ประการที่สอง
ในด้
านกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ที่
เป็
นเป้
าหมายของการศึ
กษา นอกจาก
การศึ
กษากลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
บนพื้
นที่
สูงกลุ่
มเดิ
มอย่
างต่
อเนื่
อง แต่
เริ่
มมี
การเปรี
ยบเที
ยบ
ระหว่างกลุ่ม เช่น ในเรื่
องการจั
ดการทรั
พยากรระหว่างกะเหรี่
ยงและม้ง การสร้าง
และแสดงอั
ตลั
กษณ์
ที่
ต่
างกั
นระหว่
างลื้
อและขมุ
เป็
นต้
น มี
การศึ
กษากลุ
่
มใหม่
ที่
ยั
งไม่เคยมี
งานศึ
กษาอย่างละเอี
ยดในช่วงทศวรรษก่อนๆ เช่น กลุ่มปะหล่องหรื
อ
ดาระอั้
ง ซึ่
งเป็
นกลุ
่
มที่
โยกย้
ายเข้
ามาอยู่
ในเขตแดนไทยมากขึ้
นในสองทศวรรษที่
ผ่
านมา เป็
นต้
น มี
ความสนใจในกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ที่
ไม่
ได้
อยู่
ในกลุ่
ม “ชาวเขา” มากขึ้
น
เนื่
องจากมี
ปรากฏการณ์
การเคลื่
อนไหวรื้
อฟื
้
นวั
ฒนธรรม ที่
มี
บทบาทในด้
าน
การดึ
งดูดนั
กท่
องเที่
ยวและท�
ำให้
มี
สิ
นค้
าหั
ตถกรรมอั
นเป็
นที่
มาของรายได้
เศรษฐกิ
จ
รวมทั้
งความเคลื่
อนไหวในการสร้างเครื
อข่ายข้ามประเทศ เนื่
องจากบางกลุ่มเคยมี
ถิ่
นฐานเดิ
มอยู่
ในเขตประเทศอื่
น เช่
น การศึ
กษากลุ
่
มไท/ไต กลุ
่
มคนจี
นฮ่
อ คนมุ
สลิ
ม
และ “คนเมื
อง” เป็นต้น