Previous Page  136 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 136 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

135

มากแม้จะเป็นสมาชิ

กของกลุ่มชาติ

พั

นธุ์นั้

นเอง เนื่

องจากเป็นคนรุ่นใหม่ที่

เข้ามารั

การศึ

กษาแบบใหม่ตั้

งแต่เล็

กๆ คนที่

เป็นสมาชิ

กของกลุ่มชาติ

พั

นธุ์นี้

อาจเรี

ยกได้ว่า

เป็

น “คนใน” แต่

ประเด็

นที่

ว่

าการศึ

กษาทางมานุ

ษยวิ

ทยาควรกระท�

ำโดย “คนนอก”

หรื

อ “คนใน” จึ

งจะได้

ผลดี

กว่

ากั

นยั

งเป็

นประเด็

นที่

หาข้

อยุ

ติ

ไม่

ได้

นั

กมานุ

ษยวิ

ทยา

ที่

ศึ

กษาชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

ของตนเอง จะถื

อว่

าเป็

น “คนใน” ใช่

หรื

อไม่

ปริ

ตตา

(ปริ

ตตา บก. 2545: 15) เห็

นว่

า “นั

กมานุ

ษยวิ

ทยาที่

ศึ

กษาชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

ของ

ตนเอง ก็

ไม่

ต่

างจากนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาที่

ไปศึ

กษาสั

งคมคนอื่

น ในแง่

ที่

มี

อั

ตลั

กษณ์

ซ้

อน

อยู่

ในตั

วเอง มี

ทั้

งความรู้

สึ

กร่

วมเป็

นพวกเดี

ยวกั

นและความแปลกแยกกั

บชุ

มชน

การท�

ำงานในสั

งคมตนเองไม่

ได้

แปลว่

าจะมี

แต่

ความกลมกลื

นราบรื่

น แต่

มี

เส้

นแบ่

ทางความคิ

ด ชนชั้

น…แต่

ความแปลกแยกสามารถเป็

นเครื่

องมื

อที่

จะเรี

ยนรู้

และ

ท�

ำความเข้าใจชุ

มชนได้อี

กแบบหนึ่

ง”

แนวทางการศึกษาที่ท�

ำมากขึ้นในระยะหลังอีกประการหนึ่

งคือ การศึกษา

เชิ

งเปรี

ยบเที

ยบ จากเดิ

มที่

ศึ

กษากลุ

มเดี

ยวในพื้

นที่

เดี

ยว เปลี่

ยนเป็

นการเปรี

ยบเที

ยบ

ระหว่

างกลุ

มชาติ

พั

นธุ

โดยเฉพาะอย่

างยิ่

งกลุ

มที่

ดูเหมื

อนจะมี

ความแตกต่

างกั

อย่

างมากในเรื่

องโครงสร้

างของเครื

อญาติ

และการปฏิ

บั

ติ

ทางวั

ฒนธรรม เช่

การศึ

กษาเปรี

ยบเที

ยบด้

านการท�

ำการเกษตรและการใช้

ที่

ดิ

นระหว่

างกลุ

มม้

งกั

กลุ่มกะเหรี่ยงที่ตั้งชุมชนอยู่ใกล้เคียงกันของ Tomforde (2003) ซึ่งพบว่าในขณะที่

กะเหรี่

ยงซึ่

งถูกมองว่

าเป็

นนั

กอนุ

รั

กษ์

ได้

ละทิ้

งความรู้

ท้

องถิ่

นไปมาก แต่

ม้

งซึ่

งถูกมอง

ว่าท�

ำลายป่า กลั

บมี

การพั

ฒนาการปฏิ

บั

ติ

ไปในทิ

ศทางที่

อนุ

รั

กษ์มากขึ้

น งานเขี

ยน

ใช้

แนวคิ

ดที่

เรี

ยกว่

า environmentalism ในความหมายที่

กว้

าง คื

อไม่

เพี

ยงแต่

เป็

เรื่

องของการสนองตอบร่

วมกั

นต่

อความเสื่

อมโทรมทางทรั

พยากร แต่

ยั

งเป็

ปรากฏการณ์

ทางสั

งคมและการเมื

องที่

ซั

บซ้

อน เนื่

องจากมี

เรื่

องของผลประโยชน์

ทาง

สังคม-การเมืองและระบบคุณค่าเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยสรุปแล้ว environmentalism

เป็

นวาทกรรมที่

รวมเอาการต่

อสู้

ช่

วงชิ

งทรั

พยากรธรรมชาติ

และการต่

อสู้

อ�

ำนาจ

เชิงสัญลักษณ์ เพื่อก�ำหนดว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมควรจะถูกแก้ไขอย่างไร ในฐานะ

ที่

เป็นวาทกรรม มั

นจึ

งสะท้อนและส่งอิ

ทธิ

พลต่อกระบวนการทางสั

งคม เศรษฐกิ