128
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
3.8 บทสังเคราะห์แนวทางการศึกษา
จากการทบทวนงานวิ
จั
ยในระยะสิ
บกว่าปีที่
ผ่านมา พบว่ามี
ความพยายาม
ที่จะน�ำเอาแนวคิดทฤษฎีใหม่ๆ มาท�ำความเข้าใจสถานการณ์ที่ซับซ้อนและมีการ
ปรั
บเปลี่
ยนเป็นพลวั
ต การใช้แนวคิ
ดโครงสร้างหน้าที่
นิ
ยม ที่
เคยใช้กั
นมากในงาน
ศึกษาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเมื่อหลายสิบปีก่อนมีน้อยลง แต่มีการน�ำ
แนวคิดแบบหลังสมัยใหม่นิยมหรือหลังโครงสร้างนิยมมาใช้มากขึ้น นอกจากนี้ใน
ทางวิ
ธี
วิ
ทยา ก็
มี
การปรั
บเปลี่
ยนจากการศึ
กษาแบบชาติ
พั
นธุ์
วิ
ทยาที่
เน้
นการศึ
กษา
ชุ
มชนเดี
ยว พื้
นที่
เดี
ยว หรื
อกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เดี
ยว เพื่
อท�
ำความเข้
าใจอย่
างลึ
กซึ้
ง
ถึงลักษณะเฉพาะของชุมชน พื้นที่
หรื
อกลุ
่
มที่
ศึ
กษา เป็
นการศึ
กษาความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างกลุ
่
ม หรื
อความสั
มพั
นธ์
กั
บรั
ฐและกลุ
่
มอ�
ำนาจภายนอกมากขึ้
น มี
การถกเถี
ยง
มากขึ้
นถึ
งความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างโครงสร้
างกั
บผู้
ปฏิ
บั
ติ
การ (structure-agency)
ในลักษณะที่ทั้งสองต่างก�ำหนดซึ่งกันและกันและเป็นองค์ประกอบของกันและกัน
(Amporn 2008: 242)
การปรับเปลี่ยนแนวคิดที่ใช้ในงานวิจัยด้านชาติพันธุ์ในระยะสิบปีที่ผ่านมา
เห็
นได้
ชั
ด ในการใช้
แนวคิ
ดเรื่
องอั
ตลั
กษณ์
ชาติ
พั
นธุ
์
(ethnic identity) ที่
แตกต่
างจากเดิ
ม
ที่
ใช้
แนวคิ
ดนี้
ในเชิ
งสารั
ตถะนิ
ยม (essentialism) นั่
นคื
อถื
อว่
าอั
ตลั
กษณ์
เป็
นสิ่
งที่
ติ
ดตั
ว
มาตั้งแต่เกิดและถูกหล่อหลอมในท่ามกลางวัฒนธรรมนั้
นๆ และใช้ในความหมาย
ที่ทั
บซ้
อนกับค�
ำว่
าเอกลักษณ์
ซึ่งอธิ
บายอัตลั
กษณ์
ชาติ
พั
นธุ์
จากการที่แต่
ละกลุ
่
ม
ชาติ
พั
นธุ
์
มี
วั
ฒนธรรมที่
โดดเด่
น ที่
ส�
ำคั
ญคื
อภาษาพูดภาษาเขี
ยน ลั
กษณะของ
การแต่
งกาย รูปแบบการสร้
างบ้
านเรื
อน อาหาร จารี
ตประเพณี
และการปฏิ
บั
ติ
ทาง
วั
ฒนธรรมอื่
นๆ ที่
แตกต่างจากกลุ่มอื่
น การอธิ
บายอั
ตลั
กษณ์ชาติ
พั
นธุ์ในลั
กษณะ
ที่เหมือนกับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ได้รับการวิจารณ์ว่าเป็นการมองอัตลักษณ์
ชาติ
พั
นธุ์
ที่
หยุ
ดนิ่
งไม่
เปลี่
ยนแปลง และที่
ส�
ำคั
ญคื
อเป็
นการก�
ำหนดจากคนภายนอก
และนั
กวิชาการ โดยที่เจ้
าของวัฒนธรรมไม่ได้
รับรู้
หรือไม่
ได้
ให้
ความยินยอม เช่น
กรณี
ของการเรี
ยกชื่
อกลุ
่
ม ชื่
อที่
คนนอกกลุ
่
มเรี
ยกไม่
ได้
เป็
นค�
ำที่
คนในกลุ
่
มใช้
ใน