Previous Page  122 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 122 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

121

3.7 ขบวนการต่อสู้และการเมืองเชิงอัตลักษณ์

การด�

ำเนิ

นนโยบายชาติ

นิ

ยมของรั

ฐและการพั

ฒนาสู่

ความทั

นสมั

ส่งผลกระทบต่อวิ

ถี

ชี

วิ

ตและอั

ตลั

กษณ์ทางด้านชาติ

พั

นธุ์อย่างต่อเนื่

อง งานเขี

ยนที่

แสดงให้

เห็

นปั

ญหาที่

เกิ

ดขึ้

นในกลุ่

มนี้

ที่

เห็

นชั

ดคื

อ บทความที่

รวมในหนั

งสือ เรื่

อง

Development or Domestication? Indigenous Peoples of Southeast Asia ของ Mckaskill

and Kamp eds.(1997) และบางส่

วนที่

อยู่

ในหนั

งสื

อ Living at the Edge of Thai Society:

The Karen in the Highlands of Northern Thailand ของ Delang ed. (2003) บทความ

เรื่

องการสร้

างวาทกรรมว่

าด้

วยชาวเขา ที่

ท�

ำให้

ชาวเขากลายเป็

นผู้

ที่

ก่

อปั

ญหาให้

กั

สังคมไทยเขียนโดยปิ

่นแก้

ว เหลืองอร่

ามศรี (2541) กระบวนการกลายเป็นคนจน

โดยอั

มพวา เพ็

ชรกิ่

ง (2544) และนโยบายของรั

ฐที่

ส่

งผลกระทบต่

อชาวมลาบรี

โดยศั

กริ

นทร์

ณ น่าน (2548) แม้แต่ในทางการแพทย์ก็

ยั

งมี

อคติ

ทางชาติ

พั

นธุ์เข้าไป

เกี่

ยวข้

อง ดั

งงานวิ

จั

ยที่

ปรากฏในหนั

งสื

อชาติ

พั

นธุ์

กั

บการแพทย์

(ศูนย์

มานุ

ษยวิ

ทยา

สิ

ริ

นธร 2547) พบว่

า ระบบบริ

การสาธารณสุ

ขไทยมี

อคติ

ทางชาติ

พั

นธุ

และการแพทย์

สั

ญชาติ

ไทยส่

งผลให้

ชาวม้

งหลี

กเลี่

ยงการไปโรงพยาบาลของรั

ฐ และดิ้

นรนไปรั

บริ

การจากโรงพยาบาลเอกชนแม้

ต้

องเสี

ยค่

าใช้

จ่

ายสูง และงานของสมชั

ย แก้

วทอง

(2544) ที่

แสดงให้

เห็

นอย่

างชั

ดเจนถึ

งปฏิ

บั

ติ

การของรั

ฐที่

ส่

งผลกระทบด้

านลบที่

เกิ

ดขึ้

กั

บชุ

มชนชาวเขาที่

อ�ำเภอวั

งเหนื

อ จั

งหวั

ดล�ำปาง เจ็

ดปี

หลั

งจากที่

ถูกอพยพโยกย้

าย

ปั

ญหาการชดเชยที่

ไม่

เป็

นไปตามที่

ตกลงแต่

แรก ปั

ญหาพื้

นที่

ท�

ำกิ

นมี

ไม่

เพี

ยงพอ

ท�ำให้

ต้

องมีรายจ่ายมากขึ้น พื้นที่ป่

าไม้

ที่อยู่

รอบๆ จึงต้

องถูกน�

ำมาท�ำการเกษตร

และใช้

ไม้

ในการเผาถ่

าน สถานการณ์

เช่

นนี้

ท�

ำให้

30 % ของครั

วเรื

อน 120 ครั

วเรื

อน

ที่

ตอบแบบสอบถาม มี

สมาชิ

กออกไปท�ำงานขายบริ

การทางเพศ และท�

ำงานในเมื

อง

ปัญหาสั

ญชาติ

ก็

ไม่ได้รั

บการแก้ไขอย่างจริงจั

ในการต่อสู้กับนโยบายและปฏิบัติการของรัฐที่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบ

แก่ชุมชนชาติพันธุ์นั้

น มีงานศึกษาที่แสดงให้เห็นกลยุทธในการต่อสู้หลายประการ

ประการแรก การสร้

างวาทกรรมตอบโต้

วาทกรรมของรั

ฐที่

จ�

ำกั

ดการใช้

ทรั

พยากรที่

ดิ

และป่

าไม้

บนพื้

นที่

สูงโดยอ้

างว่

าการท�

ำไร่

เป็

นการท�

ำลายป่

า โดยชี้

ให้

เห็

นองค์

ความรู้