118
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
หั
วข้
อการเปลี่
ยนแปลงด้
านศาสนาและวั
ฒนธรรม ก็
เป็
นอี
กประเด็
นที่
มี
การศึ
กษามากในระยะกว่
าทศวรรษที่
ผ่
านมา เนื่
องจากมี
ปรากฏการณ์
การเปลี่
ยนแปลงและผลกระทบที่
เห็
นได้ชั
ดมากขึ้
น เช่นประเด็
นการเปลี่
ยนศาสนา
จากศาสนาดั้
งเดิ
มเป็
นศาสนาคริ
สต์
และพุ
ทธในกลุ
่
มกะเหรี่
ยง (Hayami 2004)
การเปลี่
ยนศาสนาอาจจะก่
อให้
เกิ
ดผลกระทบของการสูญสิ้
นของพิ
ธี
กรรมและ
การปฏิ
บั
ติ
ทางวั
ฒนธรรมที่
มี
มาอย่
างยาวนานในอดี
ต โดยเฉพาะอย่
างยิ่
งในพิ
ธี
กรรม
การเปลี่
ยนผ่าน เช่น การแต่งงาน งานศพ งานปีใหม่ ฯลฯ ดั
งที่
บรรยายในงานของ
Chumpol (1997) ซึ่
งศึ
กษารายละเอี
ยดทางด้
านวั
ฒนธรรมที่
เปลี่
ยนแปลงไปจาก
การเปลี่
ยนไปนั
บถื
อศาสนาคริ
สต์
ของชาวกะเหรี่
ยง เช่
น การยุ
ติ
พิ
ธี
การร้
องเพลง
“ทา” รอบร่
างผู้
ตายในพิ
ธี
งานศพ ซึ่
งในอดี
ตเป็
นหน้
าที่
ของเยาวชนคนหนุ
่
มสาว หรื
อ
พิ
ธี
กรรมการแต่งงานที่
เปลี่
ยนเป็นการเข้าโบสถ์และขั้
นตอนแบบสากลแทนขั้
นตอน
แบบดั้
งเดิ
มซึ่
งใช้
เวลาหลายวั
น นอกจากนี้
ปรากฏการณ์
การเปลี่
ยนศาสนา
ในกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
บนพื้
นที่
สูงที่
ใหม่
อี
กประการหนึ่
งคื
อการเปลี่
ยนจากศาสนา
ดั้
งเดิ
มเป็
นศาสนาอิ
สลาม จากงานวิ
ทยานิ
พนธ์
ของสมั
คร์
กอเซ็
ม (2556)
ที่
ศึ
กษากระบวนการเปลี่
ยนศาสนาอิ
สลามให้
แก่
เด็
กหลากหลายชาติ
พั
นธุ
์
ในจั
งหวั
ดเชี
ยงรายโดยการสอนและกฎระเบี
ยบที่
ก�
ำหนดให้
เด็
กที่
เข้
ามาอยู่
ในหอพั
ก
ที่สนับสนุ
นด้วยองค์กรอิสลาม และมีการรับเอาการปฏิบัติแบบอิสลามผสมผสาน
กั
บวั
ฒนธรรมดั้
งเดิ
มในหลายรูปแบบ
ผลงานหลายเล่
ม ยั
งย�้
ำถึ
งกระบวนการเปลี่
ยนศาสนาจากดั้
งเดิ
มไปเป็
น
ศาสนาสากลหรื
อจากศาสนาหนึ่งไปเป็
นอี
กศาสนาหนึ่ง ในลั
กษณะที่
ไม่
ได้
เป็
น
การเปลี่
ยนแปลงอย่างสมบูรณ์ ยั
งมี
การผสมผสานความเชื่
อและวั
ฒนธรรมดั้
งเดิ
ม
ในรูปแบบต่างๆ ทั้
งนี้
การคงความเชื่
อและวั
ฒนธรรมดั้
งเดิ
มในรูปแบบใด ขึ้
นอยู่กั
บ
ข้
อก�
ำหนดของศาสนาใหม่
ซึ่
งมี
ความแตกต่
างกั
น แม้
จะเป็
นศาสนาคริ
สต์
เหมื
อนกั
น
เช่น ระหว่างนิ
กายโปรแตสเตนท์ กั
บคาทอลิ
ก ซึ่
งพบว่าในกลุ่มที่
นั
บถื
อคาทอลิ
กมี
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติหรือเข้าร่วมพิธีกรรมดั้งเดิมมากกว่ากลุ่มโปรแตสเตนท์
เช่น ที่
ปรากฏในงานของ Kwanchewan (2003), Hayami (2004), Nishimoto (1998),
Platz (2003) เป็นต้น