120
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
บทบาทในการฟื
้
นฟูวั
ฒนธรรมไทใหญ่
ที่
ได้
สูญหายจากการเข้
าสู่
ความทั
นสมั
ย
ของกลุ่มไทใหญ่ดั้
งเดิ
มในเมื
องแม่ฮ่องสอน นอกจากนี้
ยั
งมีงานรวบรวมนิ
ทานและ
เรื่
องเล่าของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ เช่น การศึ
กษาเรื่
องเล่าของลาหู่ (Pun and Lewis 2002)
และของอ่
าข่
าหรื
อฮาหนี่
(Lewis 2002) ซึ่
งเป็
นความพยายามจะรื้
อฟื
้
นประวั
ติ
ศาสตร์
ของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์จากค�
ำบอกเล่าและนิ
ทาน
นอกจากนี้
การเปิ
ดพรมแดนมากขึ้
นหลั
งการเปิ
ดความสั
มพั
นธ์
ทางเศรษฐกิ
จ
กั
บประเทศอื่
นของอดี
ตประเทศสั
งคมนิ
ยม จี
น ลาว เวี
ยดนาม การศึ
กษาเรื่
อง
ประวั
ติ
ศาสตร์
และลั
กษณะวั
ฒนธรรมเฉพาะของคนกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เดี
ยวกั
นแต่
อยู่
ในหลายรั
ฐชาติ
เป็นไปได้มากขึ้
น งานศึ
กษากลุ่มคนไทในประเทศอิ
นเดี
ย จี
น ลาว
และเวี
ยดนาม เป็
นตั
วอย่
างที่เห็
นได้
ชัด โครงการวิ
จัย “ประวั
ติศาสตร์
สั
งคมและ
วั
ฒนธรรมชนชาติ
ไท” ซึ่
งมี
นั
กวิ
ชาการทั้
งไทย และชาวต่
างประเทศหลายคนเข้
าร่
วม
และมี
ผลงานตี
พิ
มพ์
ในระยะที่
ผ่
านมาหลายเล่
ม เช่
น “หลั
กช้
าง” ของ ยศ สั
นตสมบั
ติ
(2544) “จั
กรวาลทั
ศน์
ฟ้
า-ขวั
ญ-เมื
อง คั
มภี
ร์
โบราณไทอาหม” ของ รณี
เลิ
ศเลื่
อมใส (2544)
“ประวั
ติ
ศาสตร์
สิ
บสองจุ
ไท” ของ ภั
ททิ
ยา ยิ
มเรวั
ต (2544) และงานแปลของจ้
าวหงหยิ
น
และสมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธุ์ (2544) เรื่อง “พงศาวดารเมืองไท เครือเมืองกูเมือง”
นอกจากนี้
ยั
งมี
โครงการวิ
จั
ยอี
กหลายโครงการที่
มี
ขนาดเล็
กกว่
าโครงการวิ
จั
ย
ดั
งกล่
าวข้
างต้
น แต่
ก็
เป็
นความสนใจอย่
างต่
อเนื่
องในเรื่
องของคนไทใน
ประเทศเพื่
อนบ้
าน เช่
นงานเรื่
อง “ชุ
มชนไทในพม่
าตอนเหนื
อฯ” ของสุ
มิ
ตร ปิ
ติ
พั
ฒน์
และคณะ (2545) งานเหล่
านี้
ถึ
งแม้
จะเป็
นการศึ
กษาคนไทในต่
างประเทศ แต่
เนื่
องจาก
ผู้
ศึ
กษาเป็
นคนไทย และมี
ความกระตื
อรื
อร้
นใคร่
รู้
ในเรื่
องอั
ตลั
กษณ์
ของคนไทว่
า
เหมื
อนหรื
อต่
างกั
บคนไทในประเทศไทยอย่
างไร โดยศึ
กษาเปรี
ยบเที
ยบกั
บคนไท ซึ่
ง
ส่
วนใหญ่
จะอยู่
ในภาคเหนื
อของประเทศไทย ได้
แก่
ไทใหญ่
ไทเขิ
น ไทลื้
อ หรื
อ ไทยวน
ในด้านลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม รวมทั้งความสัมพันธ์ของคนไทเหล่านั้
น
กั
บคนไทในเมื
องไทย เช่
น การอ้
างถึ
งพงศาวดารเมื
องมาว ที่
ระบุ
หั
วเมื
องที่
เจ้
าขุ
นเสื
อข่
านฟ้
า และพระอนุ
ชายกทั
พไปรบถึ
งสิ
บสองปั
นนา ล้
านช้
างและล้
านนา