งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
117
ท�
ำให้
ชาวบ้
านสูญเสี
ยความเป็
นส่
วนตั
ว แต่
ชาวบ้
านเองก็
มี
กลยุ
ทธที่
หลี
กเลี่
ยง
ผลกระทบ โดย “ปฏิ
บั
ติ
การเงี
ยบ” คื
อการมี
ปฏิ
สั
มพั
นธ์
กั
บนั
กท่
องเที่
ยวหรื
อ
คนภายนอกที่
มี
อ�
ำนาจกว่
าอย่
างจ�
ำกั
ด หลี
กเลี่
ยงจากการตอบค�
ำถามหรื
อหลบเลี่
ยง
จากการถูกจ้องมอง แสดงตัวตนเป็นผู้ที่รักความสงบ สันโดษ หรือโดยการนิ
นทา
องค์
กรพั
ฒนาเอกชนที่
ออกระเบี
ยบให้
ชาวบ้
านท�
ำแต่
ตนเองกลั
บไม่
ท�ำตามระเบี
ยบ
การจั
ดพื้
นที่
แยกกั
นระหว่
างนั
กท่
องเที่
ยวและเจ้
าของบ้
าน หรื
อความพยายามใช้
ชี
วิ
ตประจ�
ำวั
นให้เป็นปกติมากที่
สุ
ด
การออกไปท�
ำงานในเมื
องและต่
างประเทศมากขึ้
นของสมาชิ
กชุ
มชน
ชาติ
พั
นธุ
์
เป็
นการเปลี่
ยนแปลงที่
ส�
ำคั
ญอี
กประการ ซึ่
งส่
งผลกระทบต่
อทั้
งชุ
มชน
และบุ
คคล โดยเฉพาะปั
ญหาการค้
าบริ
การทางเพศที่
ศึ
กษาอย่
างรายละเอี
ยดใน
งานของชลดา มนตรีวั
ต (2544) ที่ศึ
กษากรณีลูกสาวลาหู่
ที่ถูกครอบครั
วขายเป็
น
สิ
นค้
า ข้
อเด่
นของงานชิ้
นนี้
คื
อการที่
ชลดามี
สถานภาพเป็
น “คนใน” คื
อเป็
นคนลาหู่
เอง ความเป็
นหญิ
งลาหู่
ท�
ำให้
ชลดาสามารถเชื่
อมโยงเงื่
อนไขทางวั
ฒนธรรมของ
ชาวลาหู่ซึ่งหล่อหลอมให้เกิดการสร้างความเป็นหญิง-ชาย ชลดาเสนอว่าพื้นฐาน
วั
ฒนธรรมนี้
มี
ส่
วนส�
ำคั
ญในการตั
ดสิ
นใจของครอบครั
วที่
ขายลูกสาวให้
แก่
คนอื่
น
ข้อเด่นอี
กประการหนึ่
งของการศึ
กษาคื
อวิ
ธี
การศึ
กษาที่
ให้ลูกสาวลาหู่ที่
ถูกขายเป็น
ผู้
ร่
วมวิ
จั
ยด้
วยการเขี
ยนบั
นทึ
กบอกเล่
าเรื่
องราวความเจ็
บปวดของเธอ ตั้
งแต่
ความยากล�
ำบากของหญิ
งลาหู่
เมื่
อครั้
งอยู่
กั
บครอบครั
วในชุ
มชนบนที่
สูงที่
มี
ความผันผวนจากการพัฒนาตามระบบเศรษฐกิจแบบเสรีทุนนิยม งานอธิบายถึง
ลูกสาวลาหู่
ซึ่
งเติ
บโตมากั
บระบบคุ
ณค่
าในวั
ฒนธรรมเดิ
มที่
ผู้
หญิ
งถูกผูกติ
ดไว้
กั
บ
ภาระหน้
าที่
ต่
อครอบครั
วและชุ
มชน เธอจะได้
รั
บการยอมรั
บว่
า “มี
คุ
ณค่
า” ก็
ต่
อเมื่
อ
ปฏิ
บั
ติ
ตามสิ่
งที่
คนอื่
นคาดหวั
งให้
ส�
ำเร็
จลุ
ล่
วงไปได้
ในขณะเดี
ยวกั
นการที่
ชุ
มชน
ชาวลาหู่ก็
เผชิ
ญกั
บความทั
นสมั
ย การศึ
กษาสมั
ยใหม่ ความสามารถในการเข้าถึ
ง
ทรั
พยากรและโอกาสใหม่
ๆ เปิ
ดโอกาสให้
สมาชิ
กในชุ
มชนโดยเฉพาะอย่
างยิ่
งผู้
หญิ
ง
สามารถเข้
าไปมี
ส่
วนแบ่
งในพื้
นที่
ทางสั
งคมมากขึ้
น แต่
โอกาสดั
งกล่
าวก็
ไม่
ได้
มี
ให้
สมาชิ
กทุ
กคน ผู้
ที่
มี
โอกาสอยู่
แล้
วยิ่
งเพิ่
มโอกาสให้
กั
บตั
วเอง ขณะที่
กลุ
่
มที่
ยั
ง
ด้อยโอกาส ก็
ยั
งคงขาดโอกาสในการกระท�
ำต่างๆ ในสั
งคมอยู่เช่นเดิ
ม