Previous Page  111 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 111 / 272 Next Page
Page Background

110

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

จ�

ำนวนผู้

ลี้

ภั

ยในค่

ายทั้

งหมดประมาณ 150,000 คน

4

ในจ�

ำนวนนี้

8 ค่

ายอยู่

ใน

เขตภาคเหนือ โดยเกือบทั้

งหมดมาจากกลุ

มชาติพั

นธุ

ไทใหญ่

กะเหรี่ยง กะเรนนี

และมอญ ทั้

งนี้

ทางการจะเรี

ยกผู้

ลี้

ภั

ยเหล่

านี้

ว่

า ผู้

หนี

ภั

ยจากการสู้

รบ และเรี

ยกค่

าย

ผู้ลี้

ภั

ยว่า พื้

นที่

พั

กพิ

งชั่

วคราวผู้หนี

ภั

ยจากการสู้รบ การหลี

กเลี่

ยงไม่ใช้ค�

ำว่าผู้ลี้

ภั

มี

สาเหตุ

มาจากการที่

รั

ฐไทยไม่

ได้

ลงนามใน

สั

ตยาบั

นอนุ

สั

ญญาว่

าด้

วยสถานะ

ผู้ลี้

ภั

ย 2494 หรื

อพิ

ธี

สารเกี่

ยวกั

บสถานะผู้ลี้

ภั

ย 2510 จึ

งใช้ค�

ำว่าผู้หนี

ภั

ยแทนเพื่

แสดงออกอย่

างชั

ดเจนว่

าจะไม่

มี

พั

นธะที่

จะปฏิ

บั

ติ

ต่

อคนกลุ

มนี้ตามที่

ระบุ

ไว้

ใน

อนุ

สั

ญญา อย่

างไรก็

ดี

แม้

ชื่

อจะเป็

นพื้

นที่

พั

กพิ

งชั่

วคราว แต่

ผู้

ลี้

ภั

ยส่

วนใหญ่

ใช้

ชี

วิ

ตอยู่

ในค่

ายอพยพ

เป็

นเวลา 20-30 ปี

เยาวชนจ�ำนวนไม่

น้

อยเกิ

ดและเติ

บโตในค่

าย แม้

ว่

จ�

ำนวนประมาณ 50,000 คนได้

รั

บการคั

ดเลื

อกให้

ย้

ายถิ่

นไปอยู่

ในประเทศที่

สาม

เช่

น อเมริ

กา แคนาดา ออสเตรเลี

ย แต่

จ�ำนวนที่

อยู่

ในค่

ายยั

งไม่

ลดลงเท่

าไหร่

นั

กเมื่

เที

ยบกั

บช่

วงที่

ย้

ายเข้

ามาอยู่

ในค่

ายอพยพในช่

วงแรกๆ เนื่

องจากมี

ผู้

ทยอยเข้

ามาภาย

หลั

ง โดยมี

ความหวั

งว่าจะได้ย้ายไปอยู่ประเทศที่

สาม ในปี 2557 แม้การสู้รบทาง

เขตประเทศพม่

าจะลดน้

อยลงเพราะมี

การท�ำสั

ญญาหยุ

ดยิ

งระหว่

างรั

ฐบาลและชนก

ลุ่มน้อย แต่กระบวนการหาทางออกในเรื่

องผู้ลี้

ภั

ยยั

งไม่มี

ความชั

ดเจน

การที่

ผู้

ลี้

ภั

ยมี

จ�

ำนวนมากและอยู่

อาศั

ยในพื้

นที่

มานานโดยได้

รั

บการ

สงเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานในการด�

ำรงชีวิตจากองค์กรนานาชาติ ท�

ำให้มีงานศึกษา

จ�

ำนวนไม่

น้

อยที่

ศึ

กษาผู้

ลี้

ภั

ยในประเด็

นต่

างๆ ยกตั

วอย่

างงานวิ

ทยานิ

พนธ์

ของ

จิรศักดิ์ มาสันเทียะ(2543) ที่ศึกษาบทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนที่ให้

การช่

วย

เหลื

อค่

ายอพยพของคนกะเหรี่

ยง และส�

ำรวจความคิ

ดเห็

นของกลุ

มต่

างๆ ที่

มี

ต่

การช่

วยเหลื

อดั

งกล่

าว ซึ่

งงานแสดงให้

เห็

นถึ

งความขั

ดแย้

งระหว่

างการให้

ความช่

วยเหลื

อเพื่

อมนุ

ษยธรรมกั

บการต้

องระวั

งไม่

ให้

รั

ฐบาลพม่

ามองว่

าเป็

การช่

วยเหลื

อขบวนการต่

อสู้

ทางชาติ

พั

นธุ

งานของ Sang Kook (2001) ซึ่

งศึ

กษาผู้

ลี้

ภั

ชาวกะเหรี่

ยงในค่ายแห่งหนึ่

งบริ

เวณชายแดนจั

งหวั

ดตาก แสดงให้เห็

นว่า ภาพของ

4

ดูตัวเลขผู้ลี้ภัยที่ปรับปรุงตลอดเวลาได้ใน

http://theborderconsortium.org

ทั้งนี้ในเดือนตุลาคม 2554

จ�ำนวนที่อยู่อาศัยในค่ายทั้งหมดมี 149,334 คน