Previous Page  108 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 108 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

107

แต่

ที่

มี

จ�

ำนวนมากที่

สุ

ดคื

อคนอิ

วเมี่

ยนที่

มี

อาชี

พขายน�้

ำเต้

าหู้

อยู่

ที่

ตลาดแห่

งนี้

จากการศึ

กษาพบว่

าการพั

ฒนาจากหน่

วยงานต่

างๆ ที่

เกิ

ดขึ้

นในชุ

มชน ประกอบกั

การหลั่

งไหลของกระแสทุ

นนิ

ยมซึ่

งมี

ลั

กษณะครอบง�

ำด้

วยระบบอ�

ำนาจผู้

ชาย

เป็

นใหญ่

มี

ส่

วนผลั

กดั

นให้

ผู้

หญิ

งอิ

วเมี่

ยนทั้

งที่

เป็

นวั

ยรุ

นและผู้

สูงอายุ

ดิ้

นรนมา

หาช่

องทางประกอบอาชี

พในชุ

มชนเมื

องมากขึ้

น เป็

นการดิ้

นรนต่

อสู้

กั

บอุ

ปสรรค

ต่

างๆ ในอันที่จะเข้

าถึ

งปั

จจั

ยการผลิ

ตที่

แตกต่

างกั

น ตามแต่

กลุ

มวัย จั

งหวะชี

วิ

และประสบการณ์

ส่

วนบุ

คคล เครื

อข่

ายทางสั

งคมแบบไม่

เป็

นทางการของกลุ

ผู้

หญิ

งอิ

วเมี่

ยนในเมื

องเกิ

ดขึ้

นจากการเลื

อกใช้

ความหมายและชุ

ดความคิ

ดตาม

แบบแผนจารี

ตของสั

งคมอิ

วเมี่

ยนเป็

นหลั

ก และใช้

เครื

อข่

ายทางสั

งคมนี้

เป็

นเวที

ของ

การแสดงอ�

ำนาจทั้

งแบบรูปธรรมและนามธรรมในวิ

ถี

การผลิ

ตและการบริ

โภคของ

ผู้หญิ

งอิ

วเมี่

ยน

ปรากฏการณ์ที่เห็นได้ชัดว่าผู้หญิงจากกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง มีบทบาท

เป็

นอย่

างมากในด้

านการค้

า ซึ่

งเชื่

อมโยงชนบทกั

บเมื

องและข้

ามแดนระหว่

างประเทศ

ท�

ำให้

มี

วิ

ทยานิ

พนธ์

อย่

างน้

อย 3 เรื่

องในระยะเดี

ยวกั

นที่

ศึ

กษาผู้

หญิ

งม้

งที่

ท�

ำการค้

ในเมื

องเชี

ยงใหม่ โดยมุ่งท�

ำความเข้าใจการเปลี่

ยนแปลงความสั

มพั

นธ์ระหว่างเพศ

ในครอบครั

ว งานวิ

ทยานิ

พนธ์

ปริ

ญญาโทของกั

ลยา จุ

ฬารั

ฐกร (2551) และของ

เสาวณี

ย์

น�้

ำนวล (2554) ที่

ศึ

กษาผู้

หญิ

งม้

งที่

มาท�

ำงานในเมื

องเชี

ยงใหม่

พบว่

ในชุ

มชนแบบดั้

งเดิ

ม ผู้

หญิ

งม้

งจะถูกจ�

ำกั

ดให้

อยู่

ในพื้

นที่

ส่

วนตั

วและอยู่

ภายใต้

อ�

ำนาจของผู้

ชาย แต่

เมื่

อเข้

ามาท�

ำงานและอยู่

อาศั

ยในเมื

องและพื้

นที่

ตลาด

เป็

นพื้

นที่

สาธารณะที่

เข้

าถึ

งความรู้

และมี

ประสบการณ์

มากขึ้

น ท�

ำให้

สามารถ

สะสมทุ

นและสร้

างพื้

นที่

ทางสั

งคมได้

มากขึ้

น มี

ความสามารถตอบโต้

และต่

อรองกั

ผู้

ที่

มี

อ�

ำนาจกว่

าหรื

อเพศชายได้

มากขึ้

น เช่

นเดี

ยวกั

บงานของกรองทอง สุ

ดประเสริ

(2551) ที่

ศึ

กษาแม่ค้าม้งซึ่

งอาศั

ยอยู่ที่

หมู่บ้านแห่งหนึ่

งในจั

งหวั

ดพะเยา แต่เดิ

นทาง

ไปซื้

อผ้

าจากม้

งในประเทศลาวเพื่

อน�

ำไปขายที่

จั

งหวั

ดเชี

ยงใหม่

เป็

นประจ�

ำทุ

กอาทิ

ตย์

ผู้

หญิ

งม้

งอาศั

ยโครงสร้

างความสั

มพั

นธ์

ของผู้

ชายเป็

นเครื่

องมื

อในการใช้

อ�

ำนาจ

ต่อรองและเปิดพื้นที่ทางสังคม มีบทบาทหลักทางเศรษฐกิจมากขึ้น มีสถานภาพ