Previous Page  109 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 109 / 272 Next Page
Page Background

108

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ในบ้

านดี

ขึ้

น มี

โอกาสควบคุ

มทรั

พยากรภายในครั

วเรื

อนมากขึ้

น แต่

ก็

พบว่

าพวกเธอ

ไม่

ได้

มี

อ�

ำนาจการต่

อรองระหว่

างเพศอย่

างเบ็

ดเสร็

จ และยั

งมี

สถานภาพที่

ไม่

ทัดเทียมกับผู้ชาย นอกจากนี้ยังมีการศึกษาผู้

หญิงไทใหญ่

ซึ่งก็มีความโดดเด่

ในเรื่

องการค้

า เช่

น กิ่

งแก้

ว ทิ

ศดึ

ง (2553) พบว่

าแม่

ค้

าชาวไทใหญ่

พลั

ดถิ่

แม้จะมี

ปัญหาสถานภาพการเข้าเมื

องที่

ไม่ถูกกฎหมายหรื

อที่

เรี

ยกว่า สภาวะก�้

ำกึ่

เชิ

งโครงสร้

าง แต่

อาชี

พค้

าขายก็

เป็

นการสร้

างทุ

นทางเศรษฐกิ

จจากทุ

นทางวั

ฒนธรรม

ที่มีอยู่ ในที่นี่

คือการท�ำอาหารไทใหญ่ขาย ส่งผลให้มีสถานภาพที่สามารถต่อรอง

กั

บอ�

ำนาจชายเป็นใหญ่ได้

การโยกย้

ายเข้

าเมื

อง ส�

ำหรั

บบางคนอาจเป็

นการเพิ่

มรายได้

ที่

เป็

นตั

วเงิ

ที่

สามารถส่

งไปเจื

อจุ

นครอบครั

วในภาคเกษตร หรื

อเป็

นการพั

ฒนาอาชี

พที่

ถาวร

และมี

สถานภาพทางเศรษฐกิ

จและสั

งคมที่

มั่

นคงมากขึ้

น แต่

ส�

ำหรั

บบางคน

ชี

วิ

ตในเมื

องเป็

นชี

วิ

ตที่

หาเช้

ากิ

นค�่

ำไม่

ได้

มี

เงิ

นเก็

บส่

งไปเจื

อจุ

นครอบครั

วที่

อยู่

ใน

ชนบทหรื

อพื้

นที่

สูงแต่

อย่

างใด อี

กทั้

งต้

องเผชิ

ญกั

บความเสี่

ยงจากการท�

ำงานในหลาย

รูปแบบ ดั

งงานศึ

กษาของ ขวั

ญชี

วั

น บั

วแดงและคณะ (Kwanchewan, et al.,2002)

ที่

ศึ

กษาสมาชิ

กกลุ

มชาติ

พั

นธุ

บนพื้

นที่

สูงที่

เข้

ามาท�

ำงานในเมื

องเชี

ยงใหม่

และ

เชี

ยงราย เป็

นเด็

กเร่

ร่

อน ผู้

ท�

ำงานบริ

การทางเพศ และแรงงานรั

บจ้

างที่

พบว่

เป็

นผู้

ที่

อยู่

ในภาวะเสี่

ยงต่

อการติ

ดเชื้

อ HIV/AIDS มากที่

สุ

ด สาเหตุ

หลั

กมาจาก

การไม่

เข้

าถึ

งข้

อมูลข่

าวสาร การขาดอ�ำนาจต่

อรองเนื่

องจากการไร้

สั

ญชาติ

และขาด

ความเข้

าใจการปรั

บตั

วใช้

ชี

วิ

ตกั

บสั

งคมวั

ฒนธรรมในเขตเมื

อง ท�

ำให้

มี

พฤติ

กรรมเสี่

ยง

ต่อการใช้ยาเสพติ

ดและพฤติ

กรรมเสี่

ยงทางเพศได้ง่าย

งานอี

กกลุ

มหนึ่

งที่

ส�

ำคั

ญ แสดงให้

เห็

นว่

า การโยกย้

ายเข้

าสู่

เมื

อง

ไม่

จ�

ำเป็

นต้

องท�

ำให้

ความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคมระหว่

างผู้

โยกย้

ายกั

บญาติ

พี่

น้

อง

ในหมู่

บ้

านต้

นทางถูกตั

ดขาดหรื

อเสื่

อมลง และไม่

จ�

ำเป็

นที่

ผู้

ย้

ายถิ่

นจะต้

อง

ยุติการปฏิ

บั

ติ

ทางวั

ฒนธรรมแบบดั้

งเดิ

ม จากงานศึ

กษาพบว่

าผู้

โยกย้

ายเข้

าเมือง

ได้

พยายามสื

บต่

อวั

ฒนธรรมดั้

งเดิ

ม แม้

ต้

องปรั

บรูปแบบให้

สอดคล้

องกั

บวิ

ถี

ชี

วิ

แบบใหม่

ยกตั

วอย่

างงานของอิ

ทธิ

พล เหมหงษ์

(2545) เสนอภาพรายละเอี

ยด