งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
65
ในความสั
มพั
นธ์ทางการเมื
อง
ส�
ำหรั
บการอธิ
บายความหมายของความเป็
นชาติ
พั
นธุ์
ในลั
กษณะที่
เป็
นการ
สร้างความหมายนิยม (constructivism) โดยไม่เชื่อว่ากลุ่มชาติพันธุ์เป็นหน่วยทาง
สั
งคมที่
คงเป็นอั
ตลั
กษณ์ความดั้
งเดิ
มไม่เปลี่
ยนแปลง แต่มี
ความเชื่
อว่า ความเป็น
ชาติพันธุ์เป็นกระบวนการสร้างความหมาย ซึ่งมีความส�ำคัญต่อการก�ำหนดความ
สั
มพั
นธ์
ระหว่
างกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
อื่
นๆ ทั้
งนี้
ผลงานวิ
จั
ยตามแนวทางดั
งกล่
าวในภาค
ตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ ได้ให้ความส�
ำคั
ญของความเป็นชาติ
พั
นธุ์จากการสร้างความ
หมายของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
โดยมี
ภูมิ
หลั
งตามบริ
บททางประวั
ติ
ศาสตร์
ไม่
มากนัก
(สุ
ริ
ยา สมุ
ทคุ
ปติ์
และ คณะ, 2544)
เป็นที่รู้กันดีว่า ชาติพันธุ์ผู้ไทยหรือชาวผู้ไท หรือภูไท นั้
นเป็นชนกลุ่มใหญ่
ที่
ตั้
งถิ่
นฐานในภาคอี
สาน ตามต�
ำนานพบว่
าอพยพมาจากแคว้
น สิ
บสองจุ
ไทย
หรื
อเมื
องแถง หรื
อเดี
ยนเบี
ยนฟู ซึ่
งเป็นศูนย์กลางของชาวไทด�
ำ โดยอพยพเข้ามา
ในสมั
ยกรุ
งธนบุ
รี
งานของ ธรี
ภาพ โลหิ
ตกุ
ล (2546) เขี
ยนเรื่
อง กว่าจะรู้ค่า: คนไท
ในอุษาคเนย์
น�ำเสนอว่
า กลุ่
มผู้ไท ยังคงรักษาวัฒนธรรมการแต่
งกายเดิมเอาไว้
โดยเน้
นสี
ด�
ำ ซึ่
งเกี่
ยวข้
องกั
บชื่
อไททรงด�
ำ เพราะค�
ำว่
าทรง มาจากค�
ำว่
า โซ่
ง
ในภาษาผู้
ไทยที่
หมายถึ
งกางเกง ส่
วนชื่
อเรี
ยกชาวภูไท ธี
รภาพเสนอว่
า เกิ
ดจากการ
นิ
ยมตั้
งบ้
านเรื
อนใกล้
ภูเขา จึ
งเรี
ยกว่
าชาวภูไท การอพยพมาจากเมื
องแถงมาอยู่
ใน
ภาคอีสาน และสามารถอยู่ร่วมได้กับชาวไทยอีสานได้อย่างกลมกลืน เป็นเพราะ
ภาษา และวัฒนธรรมมีความใกล้เคียงกันมาก และเอกลักษณ์ของผู้ไท คือ การ
นับถือผีบ้านผีเรือน ผีบรรพบุรุษ และมีการน�
ำเอาศาสนาพุทธมานับถือควบคู่กัน
ไปด้วย รวมทั้
งประเพณี
เกี่
ยวกั
บขวั
ญ ซึ่
งชาวผู้ไทถื
อว่าเป็นสิ่
งมงคล ดั
งนั้
น ขวั
ญ
จึ
งเป็นความเชื่
อของชาวผู้ไท ซึ่
งปัจจุ
บั
นการสู่ขวั
ญที่
พบเห็
นในภาคอี
สานนั้
น ก็
น่า
จะมาจากความเชื่
อเรื่
องขวั
ญ
บทความเรื่
อง กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ในแอ่
งสกลนคร (2540) ได้
กล่
าวถึ
งประเภทของ
ผู้
ไทยว่
ามี
2 ประเภท คื
อ ไทด�
ำและไทขาว ซึ่
งไทด�
ำส่
วนหนึ่
งพบว่
าอาศั
ยอยู่
ที่
จั
งหวั
ด
เพชรบุ
รี
อี
กส่
วนหนึ่
งอพยพไปอยู่
แถวสุ
พรรณบุ
รี
และพิ
ษณุ
โลก ไทด�ำจะผิ
วขาว แต่