Previous Page  70 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 70 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

69

มหาวิ

ทยาลั

ยมหิ

ดล ที่

กล่

าวถึ

งรายละเอี

ยดของประเพณี

พิ

ธี

กรรมของชาวผู้

ไทย คื

บทความของเริ

งวิ

ชญ์

นิ

ลโคตร (2546) เรื่

อง พิ

ธี

กรรมเหยาเลี้

ยงผี

ของชาวผู้

ไทย บ้

าน

โคกโก่

ง ต�

ำบลกุ

ดหว้

า อ�

ำเภอกุ

ฉิ

นารายณ์

จั

งหวั

ดกาฬสิ

นธุ

น�

ำเสนอว่

าพิ

ธี

กรรมเหยา

ไม่

เพี

ยงแต่

เป็

นการเซ่

นไหว้

บรรพบุ

รุ

ษของชาวผู้

ไทยเท่

านั้

น หากแต่

เป็

นกระบวนการ

กล่อมเกลาทางสังคมที่จรรโลงชุมชนให้ด�

ำรงอยู่ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง

ของสั

งคมและวั

ฒนธรรมที่

มี

อยู่ตลอดเวลาอี

กด้วย

ผลงานศึกษาของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�

ำนั

กงานภาคตะวันออก

เฉี

ยงเหนื

อ เขต 3 (2545) เรื่

อง ผู้ไทยโคกโก่ง กาฬสิ

นธุ์ งานชิ้

นนี้

พบว่าวั

ฒนธรรม

แบบผู้

ไทยสามารถที่

จะดึ

งดูดนั

กท่

องเที่

ยวให้

มาสั

มผั

สกั

บวั

ฒนธรรมได้

เช่

พิ

ธี

บายศรี

สู่

ขวั

ญ รั

บประทานอาหารพาแลง ศิ

ลปะการแสดงดนตรี

พื้

นบ้

าน

หั

ตถกรรมพื้

นบ้าน เป็นต้น

ผลงานของสมชาย นิ

ลอาธิ

(2542) เรื่

องธรรมาสน์เสาเดี

ยวของผู้ไทย: จาก

ผี

หลั

กเมื

องบ้านถึ

ง ธรรมาสน์พุ

ทธ ในงานน�ำเสนอว่า ธรรมาสน์เทศน์บนโรงธรรม

ของชาวผู้

ไทยจะมี

ลั

กษณะแปลกแตกต่

างกั

บชาวอี

สานทั่

วไปตรงที่

เป็

นธรรมาสน์

ที่ตั้งอยู่บนเสาต้นเดียวและเสาที่ตั้งทะลุพื้นไม้โรงธรรมลงฝังดินอีกด้วย ในขณะที่

ของชาวอี

สานจะเป็นธรรมาสน์ที่

มี

ฐาน 4 เสา และตั้

งเสาในลั

กษณะกล่องสี่

เหลี่

ยม

แต่

อย่

างไรก็

ตามทั้

งสองชาติ

พั

นธุ์

นั้

นมี

ความสั

มพั

นธ์

กั

นทั้

งทางสั

งคมเศรษฐกิ

จ และ

วั

ฒนธรรมกั

นมายาวนาน คื

อ ต่

างมี

หลั

กบ้

านเป็

นที่

ยึ

ดเหนี่

ยวร่

วมกั

นในชุ

มชน

มี

ความเชื่

อเรื่

องผี

ซึ่

งเป็นความเชื่

อดั้

งเดิ

และที่ส�ำคัญผลงานที่ศึกษาเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคมของกลุ่ม

ชาติ

พั

นธุ

ผู้

ไทยที่

ค่

อนข้

างโดดเด่

นและเป็

นการศึ

กษาที่

มี

ความต่

อเนื่

องยาวนาน

สามารถที่

จะอธิ

บายถึ

งความเป็

นมาทางชาติ

พั

นธุ

การเปลี่

ยนแปลงและการปรั

ตั

วของกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ผู้ไทย ได้เป็นอย่างดี

คื

อ ผลงานของสมศั

กดิ์

ศรี

สั

นติ

สุ

ข และ

คณะ (2528, 2535, 2538, 2542, 2544) ซึ่

งเป็

นผลงานศึ

กษาวิ

จั

ยค้

นคว้

า ที่

ได้

ศึ

กษากลุ

ชาติพันธุ์ต่างๆ ในภาคอีสานไว้มากมาย ในส่วนที่เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทยนั้

พบว่

ามี

เรื่

อง การศึ

กษาโครงสร้

างชุ

มชนชาติ

พั

นธุ

ผู้

ไทยบ้

านโนนหอม ต�

ำบลโนนหอม