งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
61
สั
งขจั
นทร์
(2546) เรื่
อง การส�
ำรวจสถานภาพองค์
ความรู้
เบื้
องต้
นจากงานวิ
จั
ยเกี่
ยวกั
บ
วิ
ถี
ชี
วิ
ตทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ในภาคอี
สาน พ.ศ.2500 – 2545 นั้
น
เป็
นอี
กงานที่
พยายามรวบรวมและน�
ำเสนอเกี่
ยวกั
บร่
องรอยของการศึ
กษาชาติ
พั
นธุ์
อี
สาน ซึ่
งในงานได้
น�
ำเสนอว่
า ก่
อนพ.ศ.2500 มี
งานเขี
ยนเกี่
ยวกั
บอี
สานเริ่
มขึ้
นในสมั
ย
ของพระบาทสมเด็
จพระจุ
ลจอมเกล้าเจ้าอยู่หั
ว ในรูปของพงศาวดาร นอกจากนั้
น
ยั
งมี
ผู้
รู้
ได้
รวบรวมเรื่
องราวเกี่
ยวกั
บกลุ
่
มคนต่
างๆ ส�
ำหรั
บชาวต่
างชาติ
ในช่
วงดั
งกล่
าว
พบว่าเป็นการศึ
กษาเชิ
งชาติ
พั
นธุ์วรรณาอย่างกว้างๆ
ส�
ำหรั
บช่วงพ.ศ.2500 - 2519 ได้น�ำเสนอว่าการศึ
กษาชาติ
พั
นธุ์อี
สานจะโยง
กั
บเรื่
องของการเมื
อง และเกี่
ยวเนื่
องกั
บสงครามอิ
นโดจี
น และอี
สานในขณะนั้
นเริ่
ม
มี
การเคลื่
อนไหวทางการเมื
อง รั
ฐบาลไทยและรั
ฐบาลอเมริ
กั
นเริ่
มหั
นมาสนใจอี
สาน
มากขึ้
น และสุ
ดท้ายพ.ศ.2520 - 2545 ได้น�ำเสนอว่าอี
สานได้ถูกศึ
กษามากขึ้
นและ
ต่างไปจากอดี
ต โดยมี
การศึ
กษากลุ่มชาติ
พั
นธุ์ต่างๆ และเน้นการน�
ำแนวคิ
ด mod-
ernization มาวิเคราะห์
เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงจากระบบประเพณีไปสู่
ระบบทัน
สมั
ยของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ต่างๆ ซึ่
งวิ
ธี
การศึ
กษาก็ยั
งคงไม่หลากหลายนั
ก
ประเด็
นที่
แตกต่
างออกไปในงานศึ
กษาชิ้
นนี้
นอกจากการน�
ำเสนอภาพการ
ศึ
กษาชาติ
พั
นธุ
์
ในอี
สานแล้
วนั้น งานศึ
กษายั
งได้
ให้
ข้
อเสนอแนะเกี่
ยวกั
บส่
วนที่
ยั
งขาด ประเด็
นที่
ต้
องการการต่
อยอดการศึ
กษา คื
อ การศึ
กษาชาติ
พั
นธุ
์
ในสั
งคมเมื
อง
การปรั
บตั
ว การเปลี่
ยนแปลง การเชื่
อมโยงวั
ฒนธรรมของชาติ
พั
นธุ
์
กั
บบริ
บท
ทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมที่
เปลี่
ยนแปลงไป การศึ
กษาการก้
าวข้
ามพรมแดนทาง
ชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ มากขึ้
น ซึ่
งงานชิ้
นนี้ท�
ำให้
ทราบว่
าแนวทางการศึ
กษาชาติ
พั
นธุ
์
อีสานยังต้องการวิธีการที่หลากหลายเพื่อท�
ำความเข้าใจในความหลากหลายและ
วั
ฒนธรรมกลุ่มชาติ
พั
นธุ์มากขึ้
น
งานศึ
กษาชาติ
พั
นธุ
์
ในอี
สานที่
พยายามวิ
เคราะห์
ให้
เห็
นถึ
งการตอบโต้
และ
ปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ ได้แก่ งานของสุริยา สมุทคุปติ์ และพัฒนา กิติอาษา
(2544) หลายงานของทั้
งสองท่
านพยายามชี้
ให้
เห็
นถึ
งรายละเอี
ยดปลี
กย่
อยที่
มา
ที่
ไปของรากเหง้
าทางชาติ
พั
นธุ
์
หรื
อ ความเกี่
ยวโยงของการเปลี่
ยนแปลง การ