70
โสวัฒนธรรม
อ�
ำเภอเมื
อง จั
งหวั
ดสกลนคร (สมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข และคณะ, 2544) ผลงานเรื่
องนี้
ได้วิเคราะห์ถึงโครงสร้างชุมชนชาติพันธุ์ผู้ไทย ซึ่งพบว่ามีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต
ความเชื่อต่างๆ ในชุมชน และส่งผลต่อการท�
ำการเกษตรซึ่งเป็นกิจกรรมหลักของ
ชุมชน และชุมชนยังมีการรักษาวัฒนธรรมของชาติพันธุ์
ผู้
ไทยไว้เป็
นอย่
างดี และ
พื้
นที่
ศึ
กษาเดี
ยวกันนี้
เองสมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ขและวิ
ศั
กดิ์
แก้วศิ
ริ
(2542) ยั
งได้ศึ
กษา
เพิ่
มเติ
มในเรื่
อง ผลกระทบต่
อการศึ
กษาต่
อการเปลี่
ยนแปลงทั
ศนคติ
และค่
านิ
ยมของ
ชุมชนชาติพันธุ์ผู้ไทย ซึ่งท�ำให้พบว่า ปัญหายาเสพติดเท่านั้
นที่มีผลต่อวัฒนธรรม
ของชาวผู้
ไทย ส่
วนการศึ
กษานั้
นไม่
ได้
ท�
ำให้
เอกลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมของกลุ
่
ม
ชาติ
พั
นธุ์ผู้ไทยเปลี่
ยนแปลงไปเลย แต่ยั
งคงรั
กษาวัฒนธรรมต่างๆ เอาไว้ ไม่ว่าจะ
เป็นภาษาพูด และประเพณี
ต่างๆ
ผลงานศึ
กษาเกี่
ยวกั
บชาติ
พั
นธุ์ผู้ไทย เมื่
อท�
ำการรวบรวมแล้วพบว่ามี
ความ
หลากหลายทั้
งนั
กวิ
ชาการ นั
กวิ
จั
ย ทั้
งนั
กศึ
กษาที่
พยายามท�
ำความเข้
าใจความเป็
นมา
และการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มชาติพันธุ์ และดูเหมือนว่าแนวทางการศึกษาจะเริ่ม
เปลี่
ยนแปลงไปโดยได้
มี
การน�
ำแนวความคิ
ด ทฤษฎี
สั
งคมร่
วมสมั
ยมาใช้
มากขึ้
น แต่
ก็ยังไม่พบว่างานที่มีลักษณะดังกล่าวเกิดขึ้น ซึ่งจากการรวบรวมพบว่ามีบทความ
ของพิ
เชฐ สายพั
นธ์ (2544) เรื่
อง ผี
ผู้ไทย ความหมายจากวาทกรรมแห่งชี
วิ
ตและ
ความตาย ผลงานดั
งกล่าวได้ลบภาพตายตั
วของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ผู้ไทย โดยการชี้
ให้
เห็
นว่
าความเป็
นผู้
ไทย ที่
ผ่
านมานั้
นถูกสร้
างขึ้
นจากผู้
รู้
ในสั
งคมอย่
างนั
กวิ
ชาการ ด้
วย
เครื่องมืออย่างงานเขียน (Writing) ด้วยอ�
ำนาจของภาษา (Discourse) ที่ทรงพลัง
ภายใต้
กรอบแนวคิ
ดแบบโครงสร้
างและหน้
าที่
ซึ่
งได้
กั
กขั
งอั
ตลั
กษณ์
และสร้
างภาพ
ตัวแทนให้กับชาติพันธุ์ผู้ไท งานชิ้นนี้วิพากษ์การศึกษาชาติพันธุ์ผู้ไทยอย่างตรงไป
ตรงมา โดยพิ
เชฐ สายพั
นธ์ (2544) ชี้
ให้เห็
นว่างานของสุ
รั
ตน์ วรางค์รั
ตน์ (2535) ที่
ศึกษาเกี่ยวกับชาวผู้ไทยในภาคอีสานนั้
น ได้ใช้แนวความคิดแบบ Enlightenment
ของตะวั
นตก ซึ่
งเชื่
อว่
ามนุ
ษย์
ต้
องจั
ดระเบี
ยบสั
งคมใหม่
และคิ
ดว่
าระเบี
ยบและ
โครงสร้
างนั้
นเป็
นสิ่
งที่
คงที่
และตายตั
ว ดั
งนั้
นสุ
รั
ตน์
จึ
งน�
ำเสนอว่
า พิ
ธี
กรรมแสดง
ให้
เห็
นถึ
งบทบาทหน้
าที่
ช่
วยจั
ดดุ
ลยภาพให้
กั
บสั
งคม และหน้
าที่
ก็
ถูกก�
ำหนด
ผ่านสถาบั
นต่างๆ ในโครงสร้างสั
งคม เช่น สถาบั
นศาสนา และสถาบั
นครอบครั
ว