Previous Page  55 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 55 / 318 Next Page
Page Background

54

โสวัฒนธรรม

เชื่

อพบว่าชาวผู้ไทยเชื่

อเรื่

องการเวี

ยนว่ายตายเกิ

เราอาจจะสรุ

ปว่

า ผลงานวิ

จั

ยที่

มี

นั

กวิ

จั

ยหลายท่

านได้

ศึ

กษาวิ

ถี

ชี

วิ

วัฒนธรรมทางศิลปนั้

น ชาวผู้ไทยเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีเอกลักษณะในด้านการทอ

ผ้

าแพรวา นอกจากนี้

ชาวผู้

ไทยยั

งมี

เอกลั

กษณะที่

ส�

ำคั

ญเกี่

ยวกั

บการจั

กสานของ

ฝ่ายชาย การฟ้อนผู้ไทย และนิ

ทานมุ

ขปาฐอี

กด้วย

คริ

สเตี

ยน บาวเวอร์

(2536) ได้

เขี

ยนบทความเกี่

ยวกั

บการศึ

กษา พั

ฒนาการ

ขับเจรียง แบริญ ของชาวเขมร ซึ่งเป็นเพลงพื้นบ้านที่มีลักษณะเหมือนการขับล�ำ

ของหมอล�

ำลาว

จากการศึ

กษาของ วิ

จิ

ตร์

นาวั

น งามสะพรั่

ง (2543) เกี่

ยวกั

บการเปรี

ยบเที

ยบ

นิ

ทานพื้

นบ้

านของบ้

านลาว เขมรและกวย พบว่

าในหมู่

บ้

าน 3 แห่

งของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ที่

ศึ

กษามี

ลั

กษณะร่

วมกั

น ด้

านองค์

ประกอบหลั

กและด้

านบริ

บททางสั

งคมและ

วั

ฒนธรรม ที่

ส่งผลต่อนิ

ทาน โดยเฉพาะนิ

ทานเขมรเน้นเกี่

ยวกั

บไสยศาสตร์

อรชร ทองสดา (2539) ได้ศึ

กษาบทเพลงกล่อมเด็

กว่า รูปแบบฉั

นทลั

กษณ์

ไม่

มี

แบบแผนแน่

นอน โดยทั่

วไปมี

ฉั

นทลั

กษณ์

คล้

ายเพลงพื้

นบ้

านจั

งหวั

ดสุ

ริ

นทร์

และ

ประเทศกั

มพูชา มี

3 รูปแบบคื

อ การปลอบประโลม การวางเงื่

อนไขให้รางวั

ลและ

การขู่ ส่วนภาพสะท้อนด้านรูปธรรมพบว่า สังคมชาวไทยเขมรบ้านตาหยวก เป็น

สั

งคมเกษตรกรรมมี

ชี

วิ

ตแบบเรี

ยบง่

าย เช่

นเดี

ยวกั

บ อรุ

ณ พั

นธุ์

เสื

อ (2540) ได้

ศึ

กษา

วั

ฒนธรรมทางด้

านพิ

ธี

กรรมต่

างๆ ที่

ใช้

บทเพลงกล่

อมเด็

กเกี่

ยวข้

องกั

บการเกิ

ด และ

การเลี้ยงดู ซึ่งพิธีกรรมการเกิดและการเลี้ยงดูเหมือนชาวอีสาน จึงท�

ำให้บทเพลง

ที่

ใช้ประกอบขณะท�ำพิ

ธี

ร่อนกระด้งเป็นการขั

บกล่อมให้ลูกนอนหลั

บ ปรุ

งแต่งด้วย

จิ

นตนาการของธรรมชาติ เป็นการขั

บร้องอย่างเดี

ยว ไม่มี

เครื่

องประกอบจั

งหวะ

ส�

ำหรั

บ จารุ

วรรณ ธรรมวั

ตร (2539) ได้

กล่

าวถึ

ง ภาคอี

สานซึ่

งมี

ความ

หลากหลายของกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ จึ

งท�

ำให้มี

ภาษาพูดที่

แตกต่างกั

นไป กล่าวคื

อ พื้

นที่

ของจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร ร้

อยเอ็ด มหาสารคาม อ�

ำนาจเจริญ ขอนแก่

และชัยภูมิ จะพูดภาษาอีสาน จังหวัดอุดรธานี และหนองคาย จะพูดภาษาปวน