50
โสวัฒนธรรม
ศาสนาและวั
ฒนธรรมเดี
ยวกั
น แม้
จะมี
แนวทางปฏิ
บั
ติ
ปลี
กย่
อยแตกต่
างกั
นไปก็
ตาม
แต่ก็
เป็นชนเผ่าไทเดียวกั
น
สุ
ริ
ยา สมุ
ทคุ
ปติ์
และพั
ฒนา กิ
ติ
อาษา (บรรณาธิ
การ, 2536ป) ได้กล่าวถึ
ง
ชาวไทยลาว มีฮีตบ้
านคองเมืองที่ยังคงรักษาจากอดีตจนถึงปั
จจุบัน แสดงความ
ส�
ำคั
ญด้านวัฒนธรรมที่
มี
ต่อการพั
ฒนา
ส�
ำหรั
บมณี
วรรณ บั
วชุ
ม (2539ป) ได้ศึ
กษากลุ่มชาติ
พั
นธุ์ไทยเขมรที่
ยั
งคงมี
ความเคารพระบบเครื
อญาติ
ผู้ใหญ่ ค่านิ
ยมของชาวบ้านเชื่
อในกฎแห่งกรรม
ส่
วนสมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข (2540) ได้
ศึ
กษาประเมิ
นความยากจนแบบมี
ส่
วนร่
วมของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
กะเลิ
งบ้
านทรายแก้
ว อ�
ำเภอกุ
ดบาก จั
งหวัดสกลนคร
ความหมายของความยากจนเป็
นมิติทางใจและทางกายภาพ ส�
ำหรั
บสาเหตุ
ของ
ความยากจนก็
คื
อ ด้านภูมิ
ศาสตร์ แต่ต้องอาศั
ยและพึ่
งพิ
งธรรมชาติ
เป็นหลั
ก
ส�
ำหรั
บเอมอร ไพไหล (2540) ได้ศึ
กษากระบวนการประกอบอาชี
พค้าสุ
นั
ข
สืบเนื่องมาจากการอพยพเข้ามาของกลุ่มชาติพันธุ์ญวนและชาวพื้นเมืองสกลนคร
จึ
งน�
ำเอาความเชื่
อที่
ว่
าปี
หนึ่
งจะต้
องบริ
โภคสุ
นั
ขด�
ำ 1-2 ครั้
ง เพื่
อให้
ความอบอุ
่
น
แก่ร่างกายในฤดูหนาว ต่อมาได้ขยายเป็นที่
นิ
ยมของชาวบ้านใกล้เคี
ยง
ส่
วนวารี
รั
ตน์
ปั
้
นทอง (2543) ได้
ศึ
กษาวั
ฒนธรรมบริ
โภคอาหารและวิ
ถี
การเปลี่
ยนแปลงด้
านเศรษฐกิ
จ สั
งคมและวั
ฒนธรรม พบว่
า ชาวไทยเชื้
อสาย
เวี
ยดนามอพยพมาตั้
งถิ่
นฐานในจั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
ในปี
พ.ศ.2488 มี
อาชี
พ
ปลูกผั
ก ช่
างเหล็
ก ช่
างซ่
อม ขายหมูยอ ขายอาหารเวี
ยดนาม เป็
นต้
น วั
ฒนธรรมการ
บริ
โภคได้
รั
บเอาวั
ฒนธรรมการบริ
โภคจากประเทศฝรั่
งเศส และผสมผสานกลมกลื
น
วั
ฒนธรรมของท้
องถิ่
นที่
อาศั
ย ซึ่
งบริ
โภคอาหาร 3 มื้
อคื
อ มื้
อเช้
าคื
อก๋
วยจั๊
บ มื้
อเที่
ยง
คื
อเฝ๋อ และอาหารอี
สาน อาหารเย็
นคื
อ แกงจื
ด ผั
ดผั
ก ต้มหมู เป็นต้น
ส�
ำหรั
บคุ
ณภาพชี
วิ
ตของผู้
สูงอายุ
ในกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ผู้
ไทย โส้
ย้
อและไท-ลาว ที่
อาศั
ยในเขตชนบทจั
งหวั
ดสกลนคร โดยจากการศึ
กษาของฉวี
วรรณ สมบูรณ์
พร้
อม
(2539) ได้
พบว่
าผู้
สูงอายุ
ในกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ดั
งกล่
าว เมื่
อมี
อาการเจ็
บป่
วยมั
กจะไป