44
โสวัฒนธรรม
พุ
ทธศาสนาควบคู่กั
นไป ซึ่
งเป็นภูมิปัญญาที่
ได้รั
บการถ่ายทอดสื
บต่อมา โดยผ่าน
พิ
ธี
กรรมทางความเชื่
อเป็นหลั
ก
อนึ่
งผลงานวิ
จั
ยหลายเรื่
องที่
ศึ
กษาชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
ในภาคตะวั
นออก
เฉี
ยงเหนื
อ เช่
น ไทยโย้
ย (สมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข และคณะ, 2540-2541) ไทยญ้
อ
(สมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข, 2538-2539) ไทยแสก (สมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข และปรี
ชา ชั
ยปั
ญหา,
2538) และชาวไทยบรู (สมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข และคณะ, 2535) ได้
พบว่
า ชุ
มชน
ชาติ
พั
นธุ
์
ส่
วนใหญ่
จะมี
การรั
กษาอนุ
รั
กษ์
สภาพสิ่
งแวดล้
อมตามธรรมชาติ
อย่
างดี
ยิ่
ง จึงกลายเป็นวั
ฒนธรรมเชิ
งนิ
เวศวิทยาของความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์
แนวความคิ
ดของภูมิ
ปั
ญญาการแพทย์
พื้
นบ้
าน เป็
นองค์
ความรู้
ที่
กลุ
่
ม
ชาติพันธุ์ได้พัฒนา เพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิตวัฒนธรรม โดยเฉพาะด้านการ
รั
กษาการเจ็
บป่วยภายในชุ
มชน พิ
สิ
ษฐ์ บุ
ญไชย (2542) ได้ศึ
กษาพฤติ
กรรมการใช้
สมุนไพรศึกษาของชาวผู้ไทย ในจังหวัดยโสธร ซึ่งอพยพมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3
ได้ด�ำรงการใช้สมุนไพรจนถึงปัจจุบันปัญหาของยาสมุนไพรพบว่า การเก็บยังขาด
ความรู้ในการอนุรักษ์สมุนไพรและสมุนไพรบางอย่างก�
ำลังหมดไป เพราะมีคนน�
ำ
ไปใช้มากขึ้น นอกจากนี้ พิสิฏฐ์ บุญไชย (2541) ได้กล่าวถึงชาติพันธุ์ทุกกลุ่มใน
ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ โดยเฉพาะหมอสมุ
นไพรชาวผู้
ไทยได้
รั
บการถ่
ายทอดวิ
ชา
สมุ
นไพร พิ
ธี
กรรมและความเชื่
อจากผู้
เป็
นครู ทั้
งนี้
ข้
อความปฏิ
บั
ติ
ของหมอสมุ
นไพร
ก็
คื
อ การถื
อศี
ล 5 อย่างเคร่งครั
ด แม้ว่าการรั
กษาด้วยแผนปัจจุ
บั
นจะมี
มากขึ้
น แต่
ชาวบ้านยั
งเลื
อกการรั
กษาโดยหมอสมุ
นไพรเป็นที่
พึ่
งสุ
ดท้าย ซึ่
งเป็นการรั
กษาทาง
ด้านจิ
ตใจของผู้ป่วย
หากจะกล่าวถึ
งการเคี้
ยวหมากในวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวผู้ไทย อ�
ำเภอหนองสูง จะ
พบว่า เพศหญิ
งเคี้
ยวหมากมากกว่าเพศชาย เครื่
องประกอบการเคี้
ยวหมากได้แก่
หมาก พลู แก่
นคูณ ยาเส้
น นวดและสี
เสี
ยด ส่
วนอุ
ปกรณ์
ได้
แก่
กระบอกปูน มี
ดสนาท
ตลั
บนวดและตะบั
นหมาก ชาวผู้ไทยมั
กจะเคี้
ยวหมากหลั
งรั
บประทานอาหาร และ
ในประเพณี
พิ
ธี
กรรมของชาวชุ
มชน (ประสาน สิ
งห์ทอง, 2540)