42
โสวัฒนธรรม
2.4 พลังภูมิปัญญาในวิถีชีวิต
แนวความคิ
ดระบบภูมิ
ปั
ญญากั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตวั
ฒนธรรมเป็
นองค์
ความรู้
ของแต่
ละ
กลุ่มชาติพันธุ์ได้พัฒนาทางองค์ความรู้จากวิถีชีวิตการอยู่ร่วมกันในสังคมและการ
เรียนรู้
จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้
อมน�
ำมาเป็
นความสัมพันธ์
เชิงพึ่งพา
ซึ่
งได้
น�
ำมาใช้
เป็
นแนวทางในการด�
ำรงชี
วิ
ตตามวิ
ถี
ของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เพื่
อความ
อยู่
รอดของความเป็
นชาติ
พันธุ
์
ทั้
งนี้
ได้
แยกเป็
นประเด็นแนวความคิ
ดหลั
กในด้
าน
นิ
เวศวิ
ทยาวั
ฒนธรรม ภูมิ
ปั
ญญาการแพทย์
พื้
นบ้
าน ภูมิ
ปั
ญญาหั
ตถกรรม และ
วั
ฒนธรรมการพัฒนา
แนวความคิ
ดนิ
เวศวิ
ทยาวั
ฒนธรรมเป็
นเรื่
องของความสั
มพั
นธ์
ของกลุ
่
ม
ชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ ที่
มี
สภาพนิ
เวศวิ
ทยาวั
ฒนธรรม ซึ่
งเกี่
ยวกั
บทรั
พยากรธรรมชาติ
และสิ่
งแวดล้อมของชุ
มชนชาติ
พั
นธุ์ ปรากฏว่า ผลงานการวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมของภาค
ตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อได้ศึ
กษาความหลากหลายทางชาติพั
นธุ์ดั
งต่อไปนี้
การท่
องเที่
ยวแห่
งประเทศไทย (2545) ได้
ศึ
กษาชาวผู้
ไทยบ้
านโคกโก่
ง อ�
ำเภอ
กุฉิ
นารายณ์
จังหวั
ดกาฬสิ
นธุ
์
(การท่
องเที่
ยวเชิ
งนิ
เวศ) ซึ่งหมู่
บ้
านผู้
ไทยแห่
งนี้ได้
เปิดเป็นแหล่งเชิงนิเวศวัฒนธรรม โดยเป็นหมู่บ้านที่ได้รักษาสิ่งแวดล้อมอย่างดียิ่ง
นอกจากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนี้แล้ว ก็มีการร�ำประเพณี
บายศรีสู่ขวัญ และ
การรั
บประทานอาหารแบบพาแลง พร้
อมทั้
งแสดงศิ
ลปะการแสดงดนตรี
พื้
นบ้
าน
รวมถึ
งหั
ตถกรรมพื้
นบ้
าน ทั้
งนี้
ชาวผู้
ไทยเป็
นกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ที่
มี
ความสนใจ
สิ่
งแวดล้อมเชิ
งนิ
เวศอี
กด้วย
ส่
วนการจั
ดการทรั
พยากรธรรมชาติ
ของชาวผู้
ไทย บ้
านค�
ำโพน อ�
ำเภอ
อ�
ำนาจเจริ
ญ พบว่ามี
การใช้ทรั
พยากรอย่างมี
ประสิ
ทธิ
ภาพ มี
ประโยชน์และคุ้มค่า
เช่
น ไม้
ที่
บรรพบุ
รุ
ษเลื
อกสรรว่
าเป็
นพั
นธุ
์
ไม้
ที่
มี
มงคลชี
วิ
ต เป็
นภูมิ
ปั
ญญาของ
บรรพบุ
รุ
ษที่
ได้มี
การรั
กษาทรั
พยากร และสิ่
งแวดล้อม (วาสนา ต่อชาติ
, 2545)
เบญจลั
กษณ์ ธราพร (2538) ได้ท�
ำการวิ
จั
ยเรื่
อง การอนุ
รั
กษ์ป่าไม้ของชาว
ไทยกะเลิ
ง บ้านบั
ว อ�
ำเภอกุ
ดบาก จั
งหวั
ดสกลนคร โดยวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวไทยกะเลิ
ง