Previous Page  293 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 293 / 318 Next Page
Page Background

292

โสวัฒนธรรม

กลุ

มหมอล�

ำหมู่

คณะต่

างๆ เหล่

านี้

ถื

อก�

ำเนิ

ดจากการรวมกลุ

มของศิ

ลปิ

นกลุ

มหมอล�ำ

กลอนที่

พั

ฒนาเป็นหมอล�

ำเรื่

องเป็นหลั

ในเวลาเดียวกันกลุ่

มหมอล�

ำที่เป็

นหมอล�ำพื้นมาก่

อน ก็ได้

มีการพัฒนามา

เป็

นหมอล�

ำหมู่

นั

บตั้

งแต่

หมอล�

ำอิ

นตา ไทยราษฎร์

คณะแสงอรุ

ณ คณะบั

วแก้

ววิ

เศษ

คณะประสงค์ศิ

ลป์ คณะประถมบั

นเทิ

งศิ

ลป์ ฯลฯ กลุ่มที่

พั

ฒนาจากหมอล�

ำพื้

นนั้

ส่

วนใหญ่

เป็

นคณะในเขตจั

งหวั

ดขอนแก่

น ซึ่

งกลุ

มนี้

แสดงหมอล�ำเรื่

องมาก่

อนอยู่

แล้

เพี

ยงแต่

มาเพิ่

มฉากการแสดงและการแต่

งกายเท่

านั้

น ส�

ำหรั

บหมอล�ำกลุ่

มที่

พั

ฒนา

มาจากหมอล�

ำพื้

นนั้

นในกลุ่

มหมอล�ำเรี

ยกว่

า หมอล�

ำท�

ำนองขอนแก่

น เนื่

องจากการ

แสดงเป็

นกลอนทางสั้

นและส่

วนใหญ่

ใช่

กลอนที่

เป็

นแม่

บทกลอนนิ

ทานในการล�ำและ

ยั

งมี

ท่

วงท�

ำนองรวดเร็

วเช่

น ล�

ำเต้

ยและล�

ำเดิ

นดงสลั

บกั

นไป(ศิ

ลปิ

นหมอล�

ำในยุ

คนั้

บางคนเรี

ยกท�

ำนองขอนแก่นว่า ท�

ำนองแบบกาเต้นก้อน)

หลั

งพุ

ทธศั

กราช 2520 เป็

นยุ

คซบเซาของหมอล�

ำในอี

สาน เนื่

องจากวงดนตรี

ลูกทุ

งเข้

ามาเป็

นที่

นิ

ยมแทนที่

หมอล�ำ หลั

งการแยกตั

วของนั

กร้

องดั

งในวงดนตรี

จุ

ฬารั

ตน์

ในระหว่

างปี

2513-2514 นั

กร้

องหลายคนตั้

งวงดนตรี

ของตนเองและเข้

ามา

แสดงในภูมิ

ภาคอี

สานมากขึ้

น รวมทั้

งเทคโนโลยี

สมั

ยใหม่

ที่

แพร่

เข้

ามาสู่

คนรุ

หนุ่

มสาวคื

อหนั

งกลางแปลง หมอล�ำหลายคณะยุ

บเลิ

กและสลายตั

วไป ที่

ปรั

บตั

วได้

ก็

เริ่

มคิ

ดปรั

บปรุ

งคณะหมอล�

ำเป็นลูกทุ่งหมอล�

ำ ทั้

งที่

ปรั

บตั

วจากเดิ

มเช่น รั

ตนศิ

ลป์

อิ

นตาไทยราษฎร์

ประถมบั

นเทิ

งศิ

ลป์

ระเบี

ยบวาทศิ

ลป์

ฯลฯ ซึ่

งได้

พั

ฒนาคณะเพื่

ให้เป็นลูกทุ่งหมอล�ำที่เอาความเป็นวงดนตรีลูกทุ่งผสมผสานกับการแสดงหมอล�ำ

เช่นเดียวกันในช่วงปี 2528 ราตรี อุ่นทะยาหรือราตรี ศรีวิไล ก็ได้ปรับให้หมอล�

กลอนปฏิ

พากย์

มี

จั

งหวะการล�

ำที่

รวดเร็

วขึ้

นพร้

อมกั

บการน�

ำเครื่

องดนตรี

สากล

มาประกอบ กลายเป็น “หมอล�

ำซิ่

ง” ขวั

ญใจวั

ยรุ่นอี

สานในปัจจุ

บั

หมอล�

ำที่

เป็

นศิ

ลปิ

นแห่

งชาติ

ได้

ถูกเลื

อกให้

เป็

นต้

นแบบในการศึ

กษา

อั

ตชี

วประวั

ติ

เช่

น ทองมาก จั

นทะลื

อ เคน ดาเหลา ฉวี

วรรณ ด�

ำเนิ

น และป.ฉลาดน้

อย

ส่

งเสริ

ม นอกจากอั

ตชี

วประวั

ติ

การวิ

เคราะห์

ภาพสะท้

อนทางสั

งคมของเคน ดาเหลา

นั

บว่

าเป็

นงานวิ

จั

ยอั

ตชี

วประวั

ติ

ที่

ค่

อนข้

างสมบูรณ์

เพราะได้

เข้

าใจโลกทั

ศน์

และ