งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
289
ท้
องถิ่
นให้
มี
ความรู้
และความสามารถในการศึ
กษาวิ
จั
ยทางประติ
มานวิ
ทยาได้
มาก
ขึ้
น ก็
จะเป็
นคุ
ณูปการต่
อการพั
ฒนาความรู้
เรื่
องราวของท้
องถิ่
นที่
มี
หลั
กฐานทาง
โบราณคดี
และหลักฐานทางประวั
ติ
ศาสตร์ศิ
ลปะที่
มี
อยู่เป็นจ�
ำนวนมาก
หมอล�
ำ ศิ
ลปะการแสดงและดนตรี
ในภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ ซึ่
งนั
บเป็น
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมอั
นมี
เอกลั
กษณ์
และอั
ตลั
กษณ์
เฉพาะของท้
องถิ่
น มี
ทั้
งที่
เกิ
ดขึ้
น
ภายใต้บริบททางวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมที่มีการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงจากวัฒนธรรมภายนอกภูมิภาคกลายเป็นลักษณะเฉพาะของท้องถิ่น
ศิลปวัฒนธรรมการแสดงในวิถีชีวิตของชุมชนภาคตะวันออกเฉี
ยงเหนือ จึงเป็นทั้ง
ดนตรี
การแสดงในพิ
ธี
กรรม เครื่
องมื
อสื่
อสารและนั
นทนาการ ในทางมานุ
ษยวิ
ทยา
แนวคิ
ดหลั
กในการวิ
เคราะห์
ดนตรี
การแสดงที่
มี
การศึ
กษาอยู่
โดยทั่
วไปคื
อ ดนตรี
และ
การแสดงในฐานะหน้
าที่
ของพิ
ธี
กรรม การศึ
กษาดนตรี
ในมุ
มมองของสั
ญลั
กษณ์
สื่
อ
ความหมาย ดนตรี
การแสดงในฐานะของเครื่
องมื
อนั
นทนาการทางสั
งคม
เอกลั
กษณ์
การแสดงที่
โดดเด่
นของศิ
ลปวั
ฒนธรรมการแสดงของภูมิ
ภาค
ตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อคื
อ หมอล�
ำ หมอล�
ำมี
ต้
นก�
ำเนิ
ดจากการใช้
ภาษาที่
มี
ค�
ำ
สอดคล้
องสละสลวย มาประกอบกั
บท่
วงท�
ำนองดนตรี
ก�ำเนิ
ดหมอล�ำอาจกล่
าว
ได้ว่ามาจากบทร้องในพิ
ธี
กรรมและมาจากการเล่านิ
ทานค�
ำกลอน ซึ่
งเป็นนิ
ทานค�
ำ
กลอนจากใบลาน ประกอบกั
บเครื่
องดนตรี
คื
อ แคน จากนั้
นการขั
บนิ
ทานกั
บดนตรี
จึ
ง
ได้พั
ฒนาการมาเป็นการการล�
ำ ในอี
กทางหนึ่
งภาษาในการพรรณนาได้พั
ฒนาการ
มาเป็นกลอนยาว พั
ฒนาการมาเป็นล�
ำล่องหรื
อล�
ำทางยาวในระยะต่อมา
ล�
ำฝี
ฟ้
า คื
อการขั
บล�
ำในพิ
ธี
กรรมการรั
กษาโรคภั
ยไข้
เจ็
บ โดยมี
ผู้
ทรงหรื
อ
นางเที
ยมท�
ำหน้าที่
อั
ญเชิ
ญผี
ฟ้าลงมาบ�
ำบั
ดรั
กษา ในพิ
ธี
กรรมคื
อการอั
ญเชิ
ญผี
ฟ้า
ลงมารั
กษาด้
วยการขั
บล�
ำเป็
นกลอนประกอบจั
งหวะดนตรี
คื
อแคน การล�
ำประเภทนี้
เป็นบทกลอนอั
ญเชิ
ญผี
ฟ้าเป็นกลอนค�
ำดั้
งเดิ
มที่
คนรุ่นหลั
งเข้าใจยาก
ช่
วงก่
อนปี
พุ
ทธศั
กราช 2500 หมอล�
ำในอี
สานมี
อยู่
เพี
ยงสองประเภทหลั
ก
คือ หมอล�ำพื้นและหมอล�ำกลอน หมอล�ำพื้น เริ่มต้นจากการน�ำเอากลอนนิ
ทาน