288
โสวัฒนธรรม
ภูมิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นในการประยุ
กต์
เพื่
อสร้
างผลงานร่
วมสมั
ย ซึ่
งคาดว่
าผลงานใน
ลั
กษณะดั
งกล่าวจะเริ่
มปรากฏอย่างเป็นรูปธรรมในช่วงทศวรรษต่อไป
ความโดดเด่
นของการศึ
กษาศิ
ลปะพื้
นถิ่
นในภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อคื
อ
ความพยายามใช้
ความหลากหลายทางทฤษฎี
และความหลากหลายทางมิ
ติ
ใน
การศึกษาจิตรกรรมฝาผนั
ง วิธีวิทยาหลักในการศึกษางานในกลุ่มนี้
คือการศึกษา
และพรรณนาเชิงพัฒนาการและพัฒนาการของรูปแบบ อันเป็
นวิธีวิทยาหลักของ
การศึกษาทางประวัติศาสตร์ศิลปะ นอกจากนั้
นยังมีกระบวนการศึกษาเกี่ยวกับสี
โครงสร้
างรูปแบบและแนวคิ
ดที่
น�ำเสนอมาใช้
กั
บงานศิ
ลปะร่
วมสมั
ย ความพยายาม
ในการถอดรหั
สความคิ
ด กระบวนการสร้
างสรรค์
ของสกุ
ลช่
างท้
องถิ่
นผู้
ผลิ
ตผลงาน
จิ
ตรกรรม อย่
างไรก็
ตามแนวคิ
ดที่
ขาดหายไปจากงานทั้
งหลายเหล่
านี้
คื
อ การใช้
แนวคิดการแปลความหมายเชิงสัญลักษณ์และการใช้แนวความคิดบทบาทหน้าที่
นิ
ยม ซึ่
งจะท�
ำให้ผลงานมี
ความโดดเด่นมากยิ่
งขึ้
น
การตี
ความทางศิ
ลปะและประติ
มานวิ
ทยา เป็
นกระแสหลั
กของการวิ
จั
ยทาง
ประวั
ติ
ศาสตร์
ศิ
ลปะในภูมิ
ภาคนี้
ในช่
วงสองทศวรรษก่
อนหน้
านี้
มี
การวิ
จั
ยทาง
โบราณคดี
โดยนั
กวิ
ชาการไทยและนั
กโบราณคดี
ต่
างประเทศเข้
ามาค้
นคว้
าวิ
จั
ยทาง
โบราณคดี
อย่างต่อเนื่
อง แต่งานการศึ
กษาของศรี
ศั
กร วั
ลลิ
โภดม กลั
บเป็นงานที่
มี
อิ
ทธิ
พลต่
อการศึ
กษาวั
ฒนธรรมต่
อนั
กวิ
ชาการที่
ค้
นคว้
าทางวั
ฒนธรรมโบราณใน
ระยะต่อมา เนื่
องมาจากการที่
ผลงานของศรี
ศั
กร เป็นงานที่
มี
การบูรณาการความ
รู้
ความหลากหลายทางวิ
ธี
วิ
ทยาและมุ
มมอง มาใช้
ในการตี
ความวั
ฒนธรรมในอดี
ต
ของภูมิ
ภาค เมื่
อย้
อนกลั
บมามองงานด้
านประวั
ติ
ศาสตร์
ศิ
ลปะก็
พบว่
า นั
กวิ
ชาการ
ทางด้
านศิ
ลปะเองเป็
นผู้
ให้
ความสนใจในการศึ
กษาประติ
มาณวิ
ทยาของผลผลิ
ตทาง
ศิ
ลปะในอดี
ต ประติ
มานวิ
ทยาเป็
นเรื่
องของการศึ
กษารูปแบบทางศิ
ลปะที่
ถ่
ายทอด
มาเป็นผลงานประติ
มากรรม ที่มีเบื้องหลั
งคือ ความคิด ความเชื่อและคติ
นิยมใน
ทางศาสนา ประติมานวิทยาทางประวัติศาสตร์ศิลปะภาคตะวันออกเฉี
ยงเหนือจึง
เกี่
ยวข้
องกั
บคติ
ทางพุ
ทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์
หรื
อฮิ
นดูโบราณ ที่
ปรากฏจาก
หลักฐานทางโบราณคดีในภูมิภาค อย่างไรก็ตาม หากสามารถพัมนานั
กวิชาการ