Previous Page  292 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 292 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

291

นิ

ยมเพราะคนอี

สานเห็

นว่าไม่เหมาะสม) ล�

ำโจทย์แก้ ภายหลั

งได้มี

พั

ฒนาการเป็น

หมอล�

ำเรื่

องต่อกลอนหรื

อหมอล�

ำหมู่ รวมทั้

งหมอล�

ำซิ่

งในปัจจุ

บั

ในช่

วงปี

พุ

ทธศั

กราช 2500 เป็

นต้

นมา การแสดงหมอล�

ำได้

รั

บความนิ

ยม

มากสูงสุดในอีสาน ได้เริ่มมีการจัดตั้งคณะหมอล�ำขึ้น คณะอัศวินสีหมอก ก่อตั้ง

ขึ้

นที่

จั

งหวั

ดขอนแก่

นและได้

พั

ฒนาการแสดงที่

มี

เวที

และฉาก การแต่

งกายก็

เปลี่

ยน

จากการแต่

งกายตามแบบนิ

ทานพื้

นบ้

านมาเป็

นการแต่

งองค์

ทรงเครื่อง โดยได้

รั

อิ

ทธิ

พลการแต่

งเครื่

องแบบลิ

เกจากทางภาคกลาง คณะอั

ศวิ

นสี

ทองโด่

งดั

งมากที่

เวี

ยงจั

นทน์ ประเทศลาว ซึ่

งมี

การเปิดการแสดงที่

ลาวมากกว่าทางฝั่งอี

สาน คณะ

อัศวินสีหมอกถือได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกการแสดงหมอล�ำในประเทศลาวและก็ยังส่งผล

ให้หมอล�

ำรุ่นต่อๆ มาได้เข้าไปแสดงในประเทศลาวและเป็นที่

รู้จั

กจนถึ

งปัจจุ

บั

น ใน

ช่

วงปี

พุ

ทธศั

กราช 2505 ได้

มี

การตั้

งคณะหมอล�

ำหลายคณะ หมอล�

ำได้

มี

โอกาส

เผยแพร่ทางวิทยุกระจายเสียง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการได้มีโอกาสแสดงทางสถานี

วิ

ทยุ

โทรทั

ศน์ช่อง 4 ขอนแก่น (สถานี

โทรทั

ศน์ช่อง 11 ส�

ำนั

กประชาสั

มพั

นธ์เขต 1

ขอนแก่นในปัจจุ

บั

น) การมี

สมาคมหมอล�

ำที่

ขอนแก่น การมี

ส�

ำนั

กงานหมอล�

ำบ้าน

พั

กทั

มใจ ที่

สนั

บสนุ

นโดยบริ

ษั

ทโอสถสภา จ�

ำกั

ด ที่

จั

งหวั

ดขอนแก่

นจึ

งถื

อว่

าเป็

นยุ

โอกาสทองของบรรดาศิ

ลปินหมอล�

การที่มีการจัดตั้งสมาคมและส�ำนั

กงานหมอล�ำขึ้นหลายแห่งในภาคอีสาน

นอกจากการได้

มี

โอกาสแสดงตามสถานี

วิ

ทยุ

และโทรทั

ศน์

แล้

ว หมอล�ำหลายคนได้

มี

โอกาสบันทึ

กแผ่นเสี

ยงอี

กด้วย ในยุ

คนั้

น หมอล�ำเคน ดาเหลา หมอล�ำทองมาก

จั

นทะลื

อ หมอล�ำบุ

ญเพ็

ง ไฝผิ

วชั

ย หมอล�ำฉวี

วรรณ ด�

ำเนิ

น ฯลฯ เป็นที่

รู้จั

กอย่าง

กว้างขวาง การมีส�

ำนั

กงานหมอล�

ำท�ำให้มีการรวมตัวจัดตั้งคณะหมอล�

ำขึ้นหลาย

คณะ ที่

มี

ชื่

อเสี

ยงโด่

งดั

งเป็

นที่

รู้

จั

กมากที่

สุ

ดคื

อคณะรั

งสิ

มั

นต์

ที่

มี

หมอล�

ำทองค�

ำ เพ็

ดี

และหมอล�

ำฉวี

วรรณ ด�

ำเนิ

น เป็

นคู่

เอกชูโรงนอกจากนั้

นยั

งมี

คณะอุ

บลพั

ฒนา คณะ

ยอดมงกุ

ฎเพชร คณะ พ.สมสมศรี

คณะขวั

ญใจจั

กรวาล คณะเพชรบูรพา ฯลฯ โดย

เฉพาะยุ

คต่

อมาในช่

วงปี

พุ

ทธศั

กราช 2514 ป.ฉลาดน้

อย ส่

งเสริ

ม อั

งคณางค์

คุ

ณไชย

สไบแพร บั

วสด สุ

ภาพ ดาวดวงเด่น ศั

กดิ์

สยาม เพชรชมพู ก็

มี

ชื่

อเสี

ยงตามมา โดย