Previous Page  298 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 298 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

297

ท้

องถิ่

นภายใต้

กระบวนการแสวงหาความรู้

ที่

ไม่

ได้

ใช้

กรอบแนวคิ

ดการวิ

จั

ยแบบ

นั

กวิ

ชาการที่

ผ่

านกระบวนการเรี

ยนรู้

การวิ

จั

ยตามแบบอย่

างทางวิ

ชาการแบบ

ตะวั

นตก การรวบรวมงานศิ

ลปวั

ฒนธรรมนอกระบบการวิ

จั

ยที่

น่

าสนใจเช่

น หนั

งสื

อชุ

เฉลิ

มพระเกี

ยรติ

พระบาทสมเด็

จพระเจ้

าอยู่

หั

วฯ เรื่

อง พั

ฒนาการทางประวั

ติ

ศาสตร์

เอกลั

กษณ์

และภูมปั

ญญา จั

งหวั

ดต่

างๆ ทั้

ง 19 จั

งหวั

ด 19 ชุ

ดจั

ดพิ

มพ์

โดย

กรมศิ

ลปากร ระหว่

างปี

พุ

ทธศั

กราช (2542)-(2544) ผลงานทั้

ง 19 จั

งหวั

ดมาจากการ

ค้นคว้า รวบรวมและเรียบเรียงโดยนั

กวิชาการในท้องถิ่นแต่ละจังหวัด โดยเฉพาะ

อย่างยิ่

งความรู้ทางศิ

ลปวั

ฒนธรรมและภูมิ

ปัญญาท้องถิ่

น เมื่

อเปรี

ยบเที

ยบกั

บงาน

วิ

จั

ยตามวิ

ธี

วิ

ทยาของการวิ

จั

ย งานวิ

จั

ยส่

วนใหญ่

เป็

นวิ

ทยานิ

พนธ์

ของการศึ

กษาของ

ในระดั

บมหาบั

ณฑิ

ตและดุ

ษฎี

บั

ณฑิ

ตของสถาบั

นอุ

ดมศึ

กษาหลั

กในภูมิ

ภาคเช่นใน

หลั

กสูตรไทยคดี

ศึ

กษา หลั

กสูตรไทยศึ

กษาและบางส่

วนที่

เป็

นการศึ

กษาในหลั

กสูตร

สถาปัตยกรรมศาสตร์ สั

งคมศาสตร์และศิ

ลปศาสตร์ เมื่

อเที

ยบสั

ดส่วนกั

บงานวิ

จั

ของนั

กวิจัยที่ได้รับจากแหล่งทุนที่สนับสนุ

นการวิจัยทางศิลปวัฒนธรรมถือว่ามีผล

งานจ�

ำนวนน้อยกว่า

ส�

ำหรั

บการส�

ำรวจความรู้

การวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมด้

านศิ

ลปวั

ฒนธรรมมี

ทิ

ศทาง

การวิ

จั

ยที่

หลากหลาย ทั้

งในประเด็

น เนื้

อหารวมทั้

งกลุ่มตั

วอย่างตลอดจนขอบเขต

พื้

นที่

ของการศึ

กษา จากการประมวลผลงานการศึ

กษาค้

นคว้

าและวิ

จั

ยทางด้

านศิ

ลป

วั

ฒนธรรมในช่วงทศวรรษ (2540) ได้ข้อสรุ

ปที่

ส�

ำคั

ญ 3 ประการคือ

ประการแรก ประเด็

นการศึกษาด้

านศิลปวัฒนธรรมในส่

วนของงานศิ

ลปะ

ร่

วมสมั

ย ยั

งไม่

ปรากฏในช่

วงทศวรรษนี้

แต่

สถาบั

นการศึ

กษาในภูมิ

ภาคได้

เริ่

มี

การจั

ดตั้

งหอนิ

ทรรศการศิ

ลปะในช่

วงต้

นศตวรรษ (2540) ได้

มี

การจั

ดกิ

จกรรม

เชิ

ดชูเกี

ยรติ

ศิ

ลปิ

นร่

วมสมั

ยและนิทรรศการแสดงผลงาน อั

นเป็

นจุ

ดเริ่

มต้

นที่

จะ

ท�

ำให้

เกิ

ดกระบวนการวิ

จั

ยต่

อไป ผลงานทางศิ

ลปะส่

วนใหญ่

เป็

นการศึ

กษาทาง

ประวั

ติ

ศาสตร์ศิ

ลปะท้องถิ่

น โดยเฉพาะงานจิ

ตรกรรมฝาผนั

งสิ

มหรื

อโบสถ์ อย่างไร

ก็

ตามกระบวนการคิ

ดซ�้

ำในด้

านวิ

ธี

วิ

ทยาในการศึ

กษา กลั

บกลายเป็

นผลให้

งานวิ

จั

ดั

งกล่

าวมี

ความน่

าสนใจน้

อยลง เพราะเกื

อบทั้

งหมดของผลงานต่

างมุ

งให้

ความ

สนใจไปที่รูปแบบ สี และกระบวนการเล่าเรื่องราวที่ปรากฏในงานจิตรกรรม ทั้งที่