286
โสวัฒนธรรม
การวิ
เคราะห์
งานทางศิ
ลปะด้
วยกรอบการคิ
ดการศึ
กษา ศิ
ลปะแบบจารี
ต
ในวั
ฒนธรรมดั้
งเดิ
ม สุ
นทรี
ยศาสตร์
มาจากมุ
มมองภายในและการตอบสนองความ
พอใจของผู้
ผลิ
ตและเจ้
าของวั
ฒนธรรม โดยความรู้
สึ
กร่
วมของสั
งคม ต่
างจาก
สุนทรียศาสตร์สมัยใหม่แบบตะวันตกที่สุนทรียศาสตร์เป็นมุมมองของความรู้สึกที่
เป็
นความงามในมุ
มมองแบบอั
ตวิ
สั
ย มี
ความเป็
นปั
จเจกบุ
คคลสูงกว่
าความรู้
สึ
กร่
วม
และส�
ำนึ
กร่
วมทางสั
งคม ในทุ
กสั
งคมมี
ค่
านิ
ยมทางสุ
นทรี
ยศาสตร์
ของตนเอง เราไม่
สามารถที่
จะหากฎเกณฑ์
มาตรฐานทางสุ
นทรี
ยศาสตร์
ของสั
งคมแบบจารี
ตได้
แต่
สิ่
ง
ที่
ควรศึ
กษาคื
อ เทคนิ
คและความรู้
สึ
กเกี่
ยวกั
บความงามภายใต้
บริ
บททางวั
ฒนธรรม
ของผู้
ผลิ
ตและผู้
เป็
นเจ้
าของวั
ฒนธรรมมากกว่
า การหาความงามและสุ
นทรี
ยะและ
ความงามจึ
งขึ้
นอยู่กั
บผู้สร้างและสายตาของคนในกลุ่มนั้
น
หากมองสุ
นทรี
ยศาสตร์
แบบสั
งคมตะวั
นออก เราจะเห็
นความงามของศิ
ลปะ
พื้นถิ่นภาคตะวันออกเฉี
ยงเหนือ ในฐานะที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์กับเทคนิ
ค
ความหมายและรูปลั
กษณ์
ของตั
วผลงานเอง งานศิ
ลปะแบบจารี
ตจึ
งมาค่
านิ
ยมและ
การั
กษารูปลั
กษณ์
เดิ
มเป็
นหลั
ก ความงามคื
อความดี
และมี
ประโยชน์
ไม่
มี
ความรู้
สึ
ก
ของศิ
ลปินแต่มี
ความรู้สึ
กทางสั
งคม ดั
งนั้
นในงานของภูมิ
ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ
จึ
งเห็
นความเข้
าใจคุ
ณค่
าและความมี
ประโยชน์
ในทางประวั
ติ
ศาสตร์
วั
ฒนธรรม อั
น
สร้างความภูมิ
ใจมากกว่าความรู้สึ
กงามทางสุนทรยะ
หน้
าที่
นิ
ยม สั
ญลั
กษณ์
นิ
ยมเป็
นกรอบแนวคิ
ดหลั
ก ที่
น�
ำมาเป็
นกรอบคิ
ดและ
มุ
มมองในการศึ
กษาทางวั
ฒนธรรมโดยเฉพาะอย่
างยิ่
งผลผลิ
ตทางวั
ฒนธรรมที่
เป็
น
งานศิ
ลปกรรม สถาปั
ตยกรรมและงานหั
ตถกรรม อย่
างไรก็
ตามมี
นั
กวิ
ชาการไทยและ
นั
กวิชาการในแต่ละภูมิภาคจ�
ำนวนน้อยที่ใช้กรอบแนวคิดหลักดังกล่าว เป็นกรอบ
แนวคิดและทฤษฎีในการวิเคราะห์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรม การศึกษาศิลปะใน
ทางสื่อสัญลักษณ์และความหมาย รูปแบบทางศิลปะและศิลปินในสังคม หากไม่
ได้
เป็
นตามแนวคิ
ดหลั
กดั
งกล่
าว อย่
างน้
อยที่
สุ
ดการได้
อรรถาธิ
บายถึ
งประวั
ติ
ศาสตร์
ทางวั
ฒนธรรมและการประเมิ
นสถานการณ์
การเปลี่
ยนแปลงทางศิ
ลปวั
ฒนธรรม
ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการศึ
กษาด้านศิ
ลปวัฒนธรรมของภูมิ
ภาคนี้
พอสมควร