Previous Page  285 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 285 / 318 Next Page
Page Background

284

โสวัฒนธรรม

5.5 แนวคิด ทฤษฎี และวิธีวิทยากับปัญหาการวิจัย

จากการสั

งเคราะห์

งานวิ

จั

ยศิ

ลปวั

ฒนธรรมในภาคตะวั

นออกเฉี

ยงเหนื

อในบท

ที่

ผ่านมา เป็นการรวบรวมงานวิ

จั

ยภายใต้ 3 ประเด็

นหลั

กคื

อ ประเด็

นแรกเป็นการ

ศึ

กษา ศิ

ลปกรรม ศิ

ลปะและสุ

นทรี

ยศาสตร์

ที่

รวมถึ

งการศึ

กษาประวั

ติ

ศาสตร์

ศิ

ลปะแบบประเพณี

นิ

ยมของท้

องถิ่

น การศึ

กษาประวั

ติ

ศาสตร์

ศิ

ลปะและโบราณคดี

ประเด็

นที่

สองศิ

ลปะการแสดง หมอล�

ำและดนตรี

ซึ่

งรวมถึ

งประวั

ติ

ของศิ

ลปิน ผล

งาน พั

ฒนาการของการสร้

างสรรค์

ผลงาน ดนตรี

การแสดงทั้

งในกลุ

มวั

ฒนธรรม

หลั

ก ดนตรี

การแสดงในกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

และประเด็

นที่

สามผลงานการศึ

กษาวิ

จั

ยทาง

สถาปัตยกรรม หัตถกรรมเป็นการรวบรวมงานวิจัยวัฒนธรรม ด้านประวัติศาสตร์

สถาปั

ตยกรรมที่

ปรากฏในท้

องถิ่

น บทบาทหน้

าที่

ของสถาปั

ตยกรรมแบบจารี

ตท้

อง

ถิ่

น งานด้

านหั

ตถกรรมของช่

างพื้

นบ้

านทั้

งที่

เป็

นแบบที่

ใช้

ในชี

วิ

ตประจ�ำวั

น ส่

วนที่

เป็

ประโยชน์

ในพิ

ธี

กรรม ตลอดจนพั

ฒนาการของหั

ตถกรรมที่

เป็

นทุ

นทางวั

ฒนธรรมและ

ภูมิ

ปั

ญญาท้

องถิ่

น ผลงานที่

ศึ

กษาครั้

งนี้

มี

ประเด็

นและเนื้

อหาที่

เกี่

ยวข้

องกั

บประเด็

อื่นเช่น ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ พลังความคิดและภูมิปัญญาในบางเรื่อง

ทั้

งนี้

เนื่

องจากผลงานทางศิ

ลปวั

ฒนธรรมในภูมิ

ภาคตะวั

นออกเฉี

ยงมี

ความเกี่

ยวข้

อง

กั

บหลายประเด็

น เนื่

องจากภูมิ

ภาคนี้

มี

ความหลากหลายทางวั

ฒนธรรมและความ

หลากหลายทางชาติ

พั

นธุ์ดั

งที่

เคยได้กล่าวถึ

งมาแล้ว

ผลจากการสั

งเคราะห์

วิ

ธี

วิ

ทยาในการศึ

กษาครั้

งนี้

พบว่

า กระบวนการวิ

จั

ส่วนใหญ่เป็นการวิ

จั

ยเชิ

งประวั

ติ

ศาสตร์ (Historical research) เพื่

อค้นหาข้อเท็

จจริ

ของเหตุ

การณ์

ที่

ผ่

านมาแล้

วในอดี

ต โดยมี

จุ

ดมุ

งหมายที่

จะบั

นทึ

กอดี

ตอย่

างมี

ระบบ และมี

ความเป็นปรนั

ยจากการรวบรวมประเมิ

นผล ตรวจสอบ และวิ

เคราะห์

เหตุ

การณ์

เพื่

อค้

นหาข้

อเท็

จจริ

งในอั

นที่

จะน�

ำมาสรุ

ปอย่

างมี

เหตุ

ผล การวิ

จั

ยประเภท

นี้ต้

องอ้

างอิ

งเอกสารและวั

ตถุ

โบราณที่

มี

เหลื

ออยู่

และการวิ

จั

ยเชิ

งบรรยายหรื

พรรณนา (Descriptive research) เป็นการวิ

จั

ยเพื่

อค้นหาข้อเท็

จจริ

งในสภาพการณ์

หรื

อภาวการณ์

ของสิ่

งที่

เป็

นอยู่

ว่

าเป็

นอย่

างไร งานประเภทนี้

มั

กจะท�

ำการส�

ำรวจ

หรื

อหาความสั

มพั

นธ์

ต่

างๆ อย่

างไรก็

ตามในงานส่

วนใหญ่

ได้

รั

บการก�

ำหนดวิ

ธี

วิ

ทยา