งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
283
มรกตและกฤตกร กล่
อมจิ
ต (2545) ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บหั
ตถกรรมจั
กสานครุ
น้
อย อ�
ำเภอ
ขุ
ขั
นธ์
จั
งหวั
ดศรี
สะเกษ พบว่
า ภูมิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นที่
เกี่
ยวข้
องกั
บวั
ฒนธรรมในวิ
ถี
ชี
วิ
ต
ของชาวบ้
านสะอาง อ.ขุ
ขั
นธ์
จ.ศรี
สะเกษในอดี
ตนั้
นใช้
ภูมิ
ปั
ญญาเพื่
อช่
วยเหลื
อตั
วเอง
ผลิ
ตปั
จจั
ยการด�
ำรงชี
วิ
ต ไม่
ว่
าจะเป็
นอาหารหรื
อเครื่
องมื
อเครื่
องใช้
ต่
างๆ เช่
นครุ
ตั
กน�้
ำ
ไว้ใช้สอยในครัวเรือน โดยท�
ำจากไม้สะแบงและต้นจิก ในปัจจุบันไม่นิยมใช้ครุไป
ตักน�้ำเนื่องจากมีครุสังกะสีที่คงทนกว่
า ต่
อมาจึงมีผู้ดัดแปลงการสานขนาดครุให้
มี
ขนาดเล็
กลง เรี
ยกว่าครุ
น้อย และจนเป็นที่
ยอมรั
บกั
บคนทั่
วไป
งานช่
างและหั
ตถกรรมอื่
นเช่
นการศึ
กษาของ ศุ
ภชั
ย สิ
งห์
ยะบุ
ศย์
(2540)
ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บช่
างสลั
กไม้
บ้
านาสะไมย์
จั
งหวั
ดยโสธร พบว่
ามี
ช่
างแกะสลั
กบาน
ประตู-หน้
าต่
างโบสถ์
อยู่
จ�ำนวนมาก และพบว่
าการสลั
กไม้
ของชายบ้
านาสะไมย์
พั
ฒนามาจากการท�
ำเกวี
ยนเที
ยมวั
ว เวลาต่
อมาเมื่
อเกวี
ยนเที
ยมไม่
ใช่
พาหนะคู่
ครั
ว
เรื
อนของผู้
คนอี
กต่
อไป แต่
ยิ่
งเพิ่
มฝี
มื
อให้
กั
บช่
างสลั
กไม้
ประมาณปี
พ.ศ.2513 เริ่
มมี
ผู้
หั
นมาสลั
กบานประตูหน้
าต่
างให้
กั
บโบสถ์
วั
ดประจ�
ำหมู่
บ้
าน วิ
บูลย์
ลี้
สุ
วรรณ (2541)
ศึกษาเกี่ยวกับเชี่ยนหมากไม้ของภาคอีสาน พบว่าเป็นภาชนะส�
ำหรับใส่เครื่องกิน
หมากและอุ
ปกรณ์
การกิ
นหมาก นอกจากนั้
นยั
งเป็
นสิ่
งแสดงฐานะของเจ้
าของด้
วย
มี
ลั
กษณะเป็
นภาชนะคล้
ายกระบะอาจจะกลมหรื
อสี่
เหลี่
ยม อาจแบ่
งเป็
น 2 ประเภท
คื
อ เชี่
ยนหมากของชนชั้
นสูงที่
ท�
ำด้วยของมีค่า เช่น นาก เงิ
น ทอง และเชี่
ยนหมาก
พื้นบ้านมักท�
ำด้วยวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเช่น ไม้ ไม้ไผ่ หวาย เป็นต้น ส่วนเชี่ยน
หมากอี
สาน ชาวบ้
านนิ
ยมใช้
กั
นมี
2 แบบ คื
อ ทรงสี่
เหลี่
ยม และทรงกระบะสี่
เหลี่
ยม
เอวเชี่
ยนคอดตี
นเชี่
ยนผายออก
ธนสิ
ทธิ์
จั
นทะรี
(2537) ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บรูปแบบผลิ
ตภั
ณฑ์
โลหะพื้
นบ้
านในภาค
อี
สาน กรณี
ศึ
กษาบ้
านปะอาว อุ
บลราชธานี
พบว่
า รูปแบบเครื่
องทองเหลื
อง บ้
านปะอาว
เป็นเครื่องใช้ในวิถีชีวิตของคนอีสานในอดีต และยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน รูปทรง
มี
ลั
กษณะสมมาตรโดยใช้
วิ
ธี
การผลิ
ตด้
วยกระบวนการกลึ
ง มี
รูปแบบต่
างๆ คื
อ
ขันหมากหรือเชี่ยนหมาก ผอบ เป็นต้น ซึ่งลวดลายบนทองเหลืองเป็นลวดลายที่
เป็
นมรดกตกทอดได้
แรงบั
นดาลใจจากธรรมชาติ
แล้
วน�ำมาประยุ
กต์
ให้
เป็
นลวดลาย