Previous Page  280 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 280 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

279

ไหมและการขาย ส่วนค่านิยมเชิงพุทธในด้านภาวนา ค�

ำประเคียน โพธิ์เพชรเล็บ

(2545) ศึ

กษาความเชื่

อและปรั

ชญาการใช้

ผ้

าไหมมั

ดหมี่

ของชาวอ�

ำเภอชนบท

จั

งหวั

ดขอนแก่

น พบว่

าการทอผ้

าไหมมั

ดหมี่

ของชุ

มชนนี้

ยั

งคงรั

กษารูปแบบและ

ลวดลายที่

เป็นเอกลั

กษณ์ ผ้าไหมชนบทแตกต่างจากผ้าไหมที่

อื่

นคื

อ พื้

นผ้าหมี่

แข็

เนื้

อแน่นไม่อ่อนพลิ้

ว นิ

ยมท�

ำลวดลายที่

เกิ

ดจากความเชื่

อทางพุ

ทธศาสนา จากพื

จากสัตว์

จากสิ่งของเครื่องใช้

และจากความคิ

ดสร้

างสรรค์

สมัยก่

อนชาวชนบท

ทอผ้า เพื่

อไว้ใช้ในครอบครั

วผื

นดี

ๆ จะเก็

บรั

กษาเพื่

อเป็นมรดกตกทอดกั

บลูกหลาน

ผู้

ใช้

ผ้

าไหมมั

ดหมี่

จะเลื

อกใช้

ผ้

าที่

สื

บทอดมาจากบรรพบุ

รุ

ษและความเชื่

อส่

วนบุ

คคล

ประที

ป สี

หานาม (2547) ศึ

กษาการด�ำเนิ

นงานของกลุ่มสตรี

ทอผ้าไหมบ้าน

อู่

โลก หมู่

6 ต�

ำบลอู่

โลก อ�

ำเภอล�

ำดวน จั

งหวั

ดสุ

ริ

นทร์

พบว่

าหมู่

บ้

านมี

อายุ

ประมาณ 76 ปี

มี

อาชี

พหลั

กคื

อ การท�

ำนา ส่

วนอาชี

พรองลงมาคื

อ รั

บจ้

างและทอผ้

ซึ่

งการทอผ้

านั้

นเป็

นอาชี

พที่

มี

ความส�

ำคั

ญมากต่

อชุ

มชน กลุ

มทอผ้

าตั้

งขึ้

นเมื่

อปี

พ.ศ.(2539) มี

สมาชิ

ก 23 คน เส้

นไหมในการผลิ

ตเป็

นเส้

นไหมที่

มาจากอุ

ตสาหกรรม

มี

3 ชนิ

ด คื

อ ไหมจุ

ล ไหมสน และไหมธรรมดา สมาชิ

กสามารถผลิ

ตได้ 30 ผื

น/ปี

นอกจากท�

ำให้เศรษฐกิ

จชุ

มชนมี

ความมั่

นคงสามารถพึ่

งพาตนเองได้แล้ว ทางกลุ่ม

ยั

งให้

ความส�

ำคั

ญในภูมิ

ปั

ญญาที่

ต้

องมี

การรั

กษาให้

ไว้

กั

บชุ

มชนและลูกหลานสื

ต่อไป โดยต้องมีการเปิดการเรียนการสอนการทอผ้าไหมมัดหมี่ให้กับเยาวชนเพื่อ

เป็นการอนุ

รั

กษ์และสร้างงานให้กั

บชุ

มชนอี

กส่วนผ้าในกลุ่มชาติ

พั

นธุ์เขมร เครื

อจิ

ศรี

บุ

ญนาค (2545) ศึ

กษาพั

ฒนารูปแบบผ้าทอมื

อไทย-เขมรสุ

ริ

นทร์ มี

จุ

ดมุ่งหมาย

เพื่

อศึ

กษาบริ

บทชุ

มชนเกี่

ยวกั

บปั

ญหาและแนวทางพั

ฒนารูปแบบผ้

าทอมื

ไทย-เขมรสุรินทร์ โดยการเชื่อมโยงเครือข่ายกับพหุภาคีให้เกิดเครือข่ายการเรียนรู้

พั

ฒนารูปแบบสี

และเทคนิ

คการทอผ้

าไหมที่

ยั

งคงเอกลั

กษณ์

ลวดลายดั้

งเดิ

มโดยเน้

การเพิ่

มคุ

ณค่าของผ้าไหมตามความเหมาะสมและความต้องการของตลาด

ยงยุ

ทธ บุ

ราสิ

ทธิ์

(2544) ศึ

กษาเกี่

ยวกั

บการเลี้

ยงไหมอี

สาน พบว่

า การเลี้

ยง

ไหมเป็นอาชีพเก่

าแก่

ของกลุ่

มชาวไทยอีสานที่นิยมเลี้ยงสืบต่

อกันมานานนับพันปี

ผู้หญิ

งอี

สานในสมั

ยก่อนจะต้องเลี้

ยงหม่อนไหมและทอผ้าไหมโดยการสื

บทอดการ