Previous Page  277 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 277 / 318 Next Page
Page Background

276

โสวัฒนธรรม

สร้างไว้กลางน�้

ำสามารถป้องกั

นมดปลวกขึ้

นไปท�

ำลาย “หนั

งสื

อผูก” เหล่านี้

อย่าง

ได้ผล สถาปนิ

กพื้

นบ้านมั

กออกแบบให้เป็นเรื

อนหลั

งเดี

ยวโดดๆ ดั

งนั้

น หอไตร จึ

เป็

นแหล่

งศึ

กษาค้

นคว้

าทางพระพุ

ทธศาสนาและเป็

นทั้

งปูชนี

ยสถานที่

ควรแก่

การ

กราบไหว้ของพุ

ทธบริ

ษั

ทอี

กด้วย สุ

พาสน์ แสงสุ

ริ

นทร์ (2542) ศึ

กษาองค์ประกอบ

ทางศิ

ลปะ รูปแบบ ลวดลายและความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างซุ

มประตูโขงวั

ดกั

บวิ

ถี

ชี

วิ

ตชาว

บ้าน พบว่าองค์ประกอบหลั

กได้แก่ โครงสร้าง รูปแบบ ขนาดและวั

สดุ

ที่

ใช้ในการ

สร้

างซุ้

มประตูโขงและองค์

ประกอบเสริ

มได้

แก่

ลวดลายและวั

สดุ

ที่

ใช้

ในการตกแต่

ลวดลายที่

สะท้อนให้เห็

นความอุ

ดมสมบูรณ์ของท้องถิ่

มุ

มมองของวิ

กฤตของสิ

มอี

สาน ลั

กขณา จิ

นดาวงษ์ (2546) ศึ

กษาลั

กษณะ

ทั่วไปของสิมอีสาน ซึ่งได้

แก่

สิ

มโปร่

ง(สิมโกง) เป็

นสิมท้

องถิ่นแบบดั้

งเดิ

ม จะก่

ผนั

งปิ

ดทึ

บเฉพาะส่

วนด้

านหลั

งของพระประธานและสิ

มทึ

บ เป็

นสิ

มรุ่

นใหม่

บางครั้

เรี

ยกว่า “สิ

มมหาอุ

ด” จะก่อผนั

งทึ

บด้วยอิ

ฐทั้

งสี่

ด้านยกเว้นช่องประตูและหน้าต่าง

สิ

มมั

กสร้

างพร้

อมกั

บหอแจกและหอไตร แรงงานและก�

ำลั

งทรั

พย์

ได้

มาจากการ

บอกบุ

ญชาวบ้

าน สถาปั

ตยกรรมพุ

ทธสถานจึ

งเปรี

ยบเสมื

อนตั

วแทนของจิ

ตวิ

ญญาณ

ความศรัทธา ความเชื่

อ โลกทั

ศน์ของบรรพบุรุ

ษอีสาน สถานการณ์สิ

มในปัจจุบั

สิ

มได้

ช�

ำรุ

ดทรุ

ดโทรมไปตามเวลาประกอบกั

บเกิ

ดการเปลี่

ยนแปลงด้

านเศรษฐกิ

และการเมื

อง ปิ

ยะศั

กดิ์

ปั

กโคทานั

ง (2540) ศึ

กษารูปแบบโครงสร้

างและ

ความหมายของบทบาทธรรมาสน์

สิ

งห์

กั

บวิ

ถี

ชี

วิ

ตชาวบ้

าน พบว่

าธรรมาสน์

สิ

งห์

สร้

างระหว่

างพ.ศ.2468-2470 โยความร่

วมมื

อของชาวเวี

ยดนามและชาวบ้

านใน

ท้

องถิ่น เพื่อให้เป็

นสถาปั

ตยกรรมที่ใช้

แสดงธรรมเทศนาในประเพณี

บุญมหาชาติ

รูปแบบและโครงสร้

างมี

ฐานปูนปั

นเป็

นรูปสิ

งห์

รองรั

บเรื

อนธรรมาสน์

ที่

ก่

อด้

วยอิ

ถื

อปูน มี

การประดั

บตกแต่

งฐานและตั

วเรื

อนให้

เป็

นภาพจิ

ตรกรรมแบบผสม หลั

งคา

มี

โครงสร้างเป็นไม้ ศิ

ลปะได้รั

บอิ

ทธิ

พลจากจี

นและเวี

ยดนามผสมผสานกั

บท้องถิ่

ส�

ำหรั

บการศึ

กษาหั

ตถกรรมประกอบด้

วยการศึ

กษา หั

ตถกรรมในฐานะของ

องค์ความรู้และการพั

ฒนา ศุ

ภชั

ย สิ

งห์ยะบุ

ศย์และคณะ (2545) ศึ

กษาถึ

งรูปแบบ

ศิ

ลปะและการจั

ดการทอผ้

าที่

ส่

งผลต่

อความเข้

มแข็

งและการพึ่

งตนเองของชุ

มชน