Previous Page  275 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 275 / 318 Next Page
Page Background

274

โสวัฒนธรรม

ส่

วนการศึ

กษาธาตุ

อี

สาน มี

นั

กวิ

ชาการให้

ความสนใจในการศึ

กษาอย่

าง

ต่

อเนื่

อง นั

บตั้

งแต่

วิ

โรฒ ศรี

สุ

โร (2538) น�

ำเสนอเกี่

ยวกั

บพระธาตุ

ศรี

สองรั

ก อนุ

สรณ์

แห่

งมิ

ตรภาพ และไมตรี

ของสองฝั่

งโขง ซึ่

งปั

จจุ

บั

นตั้

งอยู่

ในเขตอ�

ำเภอด่

านซ้

าย เป็

อ�ำเภอหนึ่

งของจังหวัดเลย ซึ่งเป็นจังหวัดหนึ่

งในภาคตะวันออกเฉี

ยงเหนือค่อนไป

ทางภาคเหนือ (อีสานเหนือ) พบว่าประชาชนชาวจังหวัดเลยดั้งเดิมและส่วนใหญ่

เป็นชนเผ่าไทยลื้อ ซึ่งเป็นไทยเผ่าใหญ่เผ่าหนึ่

ง ที่ตั้งฐานอยู่ในอาณาจักรล้านช้าง

สมัยโบราณส�ำเนียงพูดของคนพื้นเมืองจังหวัดเลยจึงมีส�

ำเนียงคล้ายประชาชนใน

แคว้นหลวงพระบาง และแขวงไชยบุรี (จังหวัดลานข้างเดิม) พระธาตุศรีสองรัก :

ปูชนี

ยสถานและที่

พึ่

งทางใจนอกจากพระธาตุ

ศรี

สองรั

กจะเป็

นอนุ

สรณ์

สถานของ

ความสั

มพั

นธ์

ทางมิ

ตรภาพและไมตรี

อั

นดี

ยิ่

งระหว่

างไทย-ลาว ในประวั

ติ

ศาสตร์

แล้

ว ยั

งเป็

นปูชนี

ยสถานอั

นศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

ที่

เป็

นที่

พึ่

งทางใจของประชาชนจั

งหวั

ดเลยและ

ใกล้

เคี

ยง รวมทั้

งชาวลาวส่

วนหนึ่

ง ด้

วยพระธาตุ

ศรี

สองรั

กได้

รั

บการซ่

อมแซมอยู่

เสมอ และกรมศิ

ลปากรได้ขึ้

นทะเบี

ยนเป็นโบราณสถานไว้แล้ว

ผลงานวิ

จั

ยชิ้

นส�

ำคั

ญของวิ

โรฒ ศรี

สุ

โร (2538) เรื่

องธาตุ

อี

สาน ศึ

กษาเกี่

ยวกั

“ธาตุ

” และ “พระธาตุ

” เป็

นภาษาถิ่

นของภาคอี

สานที่

ใช้

เรี

ยกอนุ

สาวรี

ย์

หรื

สิ่

งก่

อสร้

างเพื่

อบรรจุ

อั

ฐิ

ธาตุ

ของผู้

วายชนม์

มี

ความหมายอย่

างเดี

ยวกั

บ “เจดี

ย์

” หรื

“สถูป” ในภาษากลางหากเรี

ยกว่

า “ธาตุ

” ย่

อมหมายถึ

งที่

บรรจุ

กระดูกของบุ

คคลธรรมดา

สามัญไปจนถึงเจ้าเมือง และพระสงฆ์องค์เจ้า “พระธาตุ” หมายถึงสิ่งก่อสร้างที่

ประดิ

ษฐานแต่

เฉาพะอั

ฐธาตุ

ขององค์

พระสั

มมาสั

มพุ

ทธเจ้

า “ธาตุ

” สามั

ญชนทั่

วไป

ในครั้

งแรกนิ

ยมใช้

ไม้

จึ

งเรี

ยกว่

า “ธาตุ

ไม้

” ซึ่

งไม่

สามารถท�

ำให้

ใหญ่

โตได้

ต่

อมาพั

ฒนา

โดยการก่ออิ

ฐสอปูนจึ

งสามารถท�

ำให้ใหญ่โตและแข็

งแรงยิ่

งขึ้

น เรี

ยกว่า “ธาตุ

ปูน”

ธาดา สุ

ทธิ

ธรรม (2542) ศึ

กษาเกี่

ยวกั

บสิ

มของวั

ดสุ

วรรณาวาส จั

งหวั

มหาสารคาม พบว่

า สิ

มวั

ดสุ

วรรณาวาส เป็

นอาคารก่

ออิ

ฐถื

อปูนเป็

นลั

กษณะ

สิ

มอี

สานที่

ได้รั

บอิ

ทธิ

พลจากฝั่งลาวซึ่

งรั

บมาจากฝรั่

งเศสในฐานะอาณานิ

คมในการ

ก่อสร้างอาคารก่ออิฐฉาบปูน โดยมีช่างญวนเป็นผู้ท�

ำงานปูนต่างๆ ซุ้มประตูด้าน

หน้

าเป็

นลวดลายปูนปั้

นปางพระพทธเจ้

าปางเลไลย์

เห็

นเป็

นภาพลิ

งและช้

างเลื

อนๆ