Previous Page  276 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 276 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

275

คั

นทวยไม้แกะสลั

กเป็นรูปภาพพญานาคงดงามอ่อนช้อย ตามแบบศิ

ลปกรรมไทย

อีสาน ซึ่งทรุดโทรมลงมาก แต่ต่อมาการอนุรักษ์สิมวัดสุวรรณาวาสจึงส�

ำเร็จด้วย

การบริ

จาคแรงงาน สิ่

งของ และเงิ

นจากญาติ

มิ

ตร ผู้มี

จิ

ตศรั

ทธา วิ

โรฒ ศรี

สุ

โรและ

ธาดา สุ

ทธิ

ธรรม (2543) ศึ

กษาหลั

กบ้านและพบว่า การออกแบบ “หลั

กบ้าน” นั้

ค�

ำนึ

งถึ

งหลั

กเกณฑ์

3 หั

วข้

อ คื

อ 1.รูปแบบ มั

กนิ

ยมท�

ำเป็

นเสาไม้

กลมหรื

อไม้

ปาดมุ

ให้

เป็

นรูป 8 เหลี่

ยม ไม่

ก�

ำหนดขนาดและความสูง ส่

วนใหญ่

ขั้

นหั

วให้

เป็

นรูปเสาหั

วดุ

หรื

อรูปทรงบั

วตูมโดยหยาบ ไม่

พิ

ถี

พิ

ถั

นนั

ก แบ่

งออกเป็

นแบบหลั

กปลายแหลม

ธรรมดา แบบหยั

กปลายไม่

มี

ลวดลายแบบหยั

กปลายตกแต่

งลวดลายแบบประยุ

กต์

2.วั

สดุ

แต่

เดิ

มนั้

นใช้

ไม้

ทั้

งสิ้

น ไม้

ที่

นิ

ยมท�ำต้

องเป็

นไม้

มงคล เช่

น คูณ ยอ ถ้

าหาไม่

ได้

อาจใช้

ไม้

แคน (ตะเคี

ยน) ไม้

เต็

ง เป็

นต้

น นอกจากนี้

ช่

างพื้

นบ้

านยั

งนิ

ยมน�

ำซี

เมนต์

มาท�

แทนไม้

เนื่

องจากทนทานและสามารถท�ำลวดลายได้

ง่

าย 3.การตกแต่

ง หากเป็

นวั

สดุ

ที่

ท�

ำจากไม้

ช่

างนิ

ยมสลั

กหยาบๆ เป็

นเสมื

อนรอยขี

ดซ้

อนกั

นลงไปในเนื้

อไม้

บางครั้

ก็

มี

การหยั

กปลายอย่

างที่

ช่

างพื้

นบ้

านเรี

ยกว่

า “แอวขั

น” โดยแบ่

งเป็

นส่

วนปลายและ

ส่วนล�

ำตั

ว ส่วนปลายจะถาก ปาดยอดให้เป็นทรงบั

วเหลี่

ยมแล้วสลั

กเป็นลายกาบ

(คล้ายกระจั

ง) ซ้อนกั

นเหมื

อนกาบของหน่อไม้ที่

เจริ

ญงอกงามโผล่จากผิ

วดิ

ช�

ำนาญ เล็

กบรรจง (2545) ศึ

กษาลั

กษณะและรูปแบบลวดลายประดั

สถาปั

ตยกรรมทางศาสนาในภาคอี

สาน พบว่

า ลั

กษณะของลวดลายประดั

สถาปัตยกรรมทางศาสนาเป็นลวดลายที่ช่างได้แนวคิดจากธรรมชาติและลายไทย

ถ่

ายทอดสื

บต่

อกั

นมาแบบตระกูลช่

งสามารถประยุ

กต์

ดั

ดแปลงให้

เหมาะสมกั

ลั

กษณะสถาปั

ตยกรรมไทยได้

ดี

การเรี

ยกชื่

อลวดลายและเรี

ยกตามที่

ได้

มาของครูช่

าง

ลั

กษณะคุ

ณค่

าความงามของลวดลายช่

างจะออกแบบให้

มี

ส่

วนประกอบของศิ

ลปะ

ปรากฏอยู่ในแต่ละลวดลายได้แก่ ความงามที่

เกิ

ดจากเส้นรูปร่าง รูปทรง แสง-เงา

พื้

นผิ

ว ช่องว่าง และสี

ผสมผสานกั

นอย่างลงตั

ว วิ

โรฒ ศรี

สุ

โร (2539) ศึ

กษาหอไตร

ของอีสานในด้านคุณค่าและเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น กล่าวถึงหอไตร

หมายถึ

ง อาคารที่

สร้

างขึ้

นเพื่

อเก็

บรวบรวมพระไตรปิ

ฎก อั

นมี

พระอภิ

ธรรมปิ

ฎก

พระสุ

ตตั

นตปิ

ฎก(พระสูตร) และพระวิ

นั

ยปิ

ฎก เพื่

อให้

พระสงฆ์

ได้

เล่

าเรี

ยนศึ

กษา