Previous Page  272 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 272 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

271

เจริ

ญ ตั

นมหาพราน (2536) ศึ

กษาลั

กษณะเรื

อนอี

สานโดยทั่

วไปมี

3 ลั

กษณะ

คือ 1.เฮือนใหญ่หรือเรือนเกย 2.เฮือนโข่ง ซึ่งมีโครงสร้างแยกออกจากเฮือนใหญ่

3.เฮื

อนแฝด มี

โครงสร้

างทั้

งขื่

อและคานจะฝากกั

บเฮื

อนใหญ่

และระดั

บพื้

นจะเท่

ากั

เฮื

อนทั้

ง 3 อาจมี

ส่

วนประกอบเพื่

อเพิ่

มเนื้

อที่

ใช้

สอยต่

างๆ ได้

ดั

งนี้

ชานแดด เป็

นชาน

โล่งที่ยื่นออกมาและลดระดับลงจากตัวเรือน ใช้นั่

งพักผ่อนและรับประทานอาหาร

เฮื

อนไฟ (ครั

ว) ฮ้

างน�้

ำ (ร้

านน�้

ำ) ลั

กษณะเป็

นเพิ

ง มี

ร้

างวางแอ่

งน�้

ำดิ

นเผาไว้

ดื่

ม เล้

าข้

าว

(ยุ้

งเล้

า) จะมี

พื้

นเล้

าสูงพอดี

กั

บการเที

ยมเกวี

ยน เพื่

อขนข้

าวเข้

ายุ้

ง ลั

กษณะเด่

นของ

เรื

อนอี

สานอยู่

ที่

จั่

ว นอกจากนี้

ยั

งมี

กรอบปั

นลมประกอบหลั

งคาเรื

อนทั้

งสองด้

าน

เช่นเดี

ยวกั

บ จั

นทนีย์ วงศ์ค�

ำ(2545) ศึ

กษาวั

ฒนธรรมกั

บการเปลี่

ยนแปลงของเรื

อน

อี

สาน พบว่

า เรื

อนพื้

นถิ่

นของแต่

ละกลุ

มต่

างๆ ในภาคอี

สานล้

วนมี

ความคล้

ายคลึ

งกั

และมี

ความคล้ายกั

นเรื

อนพื้

นถิ่

นในลาวด้วยทั้

งในรูปแบบและผั

งเรื

อน

เนื่

องมาจากความเป็

นกลุ

มชนที่

มี

การจดจ�

ำรูปแบบทางสถาปั

ตยกรรมมา

ตั้

งแต่

ครั้

งอดี

ตและสื

บทอดต่

อกั

นมาเรื่

อยๆ โดยมี

การเปลี่

ยนแปลงบางอย่

างให้

เข้

ากั

สภาพแวดล้อมและทรั

พยากรที่

หาได้ในท้องถิ่

นรวมไปถึ

งผสมผสานรูปแบบเดิ

วิชิต คลังบุญครองและไพโรจน์ เพชรสังหาร (2537) ศึกษาเกี่ยวกับเฮือน

(เรื

อน) ในภาคอี

สาน พบว่า เฮื

อน (เรื

อน) ในภาคอี

สาน หมายถึ

ง ที่

พั

ก ที่

อาศั

ที่มีการยกเสาสูงใต้ถุนโล่ง (มีใต้ล่าง) การแบ่งประโยชน์การใช้ที่ดินในภาคอีสาน

แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คื

อ 1) บริ

เวณชุ

มชนหมู่บ้าน เป็นการใช้ที่

ดิ

นที่

ตั้

ชุ

มชนและอยู่กั

นเป็นกลุ่มโดยเลื

อกท�

ำเลเป็นที่

ตั้

งเนิ

นสูง น�้

ำท่วมไม่ถึ

งสามารถปลูก

พื

ชยื

นต้นได้ 2) บริ

เวณการเกษตร ส่วนมากจะเป็นนา ไร่ สวนตามแต่ภูมิ

ประเทศ

จะอยู่โดยรอบหมู่บ้าน ส่วนด้านสังคมครอบครัวและเฮือนอีสาน ซึ่งการปลูกเรือน

ของชาวอี

สานจะดูฤกษ์

ดูยามท�

ำพิ

ธี

การปลูกเรื

อนและช่

วยกั

นปลูกโดยขอความ

ช่

วยเหลื

อซึ่

งกั

นและกั

นโดยชาวบ้

านจะช่

วยกั

นเข้

าไปในดง (ป่

า) เพื่

อเลื

อกไม้

แก่

อ่

อน

ชนิ

ดให้เหมาะสมกับลักษณะการใช้ สังคมในครัวเรือนแต่ละครัวเรือนจะปลูกเรือน

ให้มี

เนื้

อที่

ใช้สอยขนาดพอเหมาะ