งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
273
บานประตู และบานหน้
าต่
างอุ
โบสถ เพื่
อรองรั
บและเกื้
อหนุ
นต่
อความเลื่
อมใส
ศรั
ทธาพุ
ทธศาสนาในชุ
มชนของตน ซึ่
งภูมิ
ปัญญานั้
นจ�
ำแนกได้ 2 ลั
กษณะ วรยุ
ทธ
จั
นทมูล (2542) ศึ
กษาลั
กษณะรูปแบบทางสถาปัตยกรรม การประดั
บตกแต่ง และ
ศึ
กษาความสั
มพั
นธ์
ของธรรมาสน์
กั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวบ้
านในจั
งหวั
ดมหาสารคาม
พบว่
าเป็
นสถาปั
ตยกรรมที่
สร้
างขึ้
นเพื่
อเป็
นสถานที่
นั่
งแสดงพระธรรมเทศนาของ
พระสงฆ์ในงาบุญมหาชาติ โครงสร้างเป็นไม้ และจากรูปแบบธรรมาสน์ที่ปรากฏ
นั้
นแสดงให้เห็นถึงความเชื่อทางพุทธศาสนาในเรื่องเวสสันดรชาดก ซึ่งเป็นเนื้อหา
หลักในการประดับตกแต่ง และเนื้อหารอง คือ รูปบุคคลและสัตว์ สะท้อนให้เห็น
ถึ
งความเชื่
อ วิ
ถี
ชาวบ้าน
อาคารหอแจกหรื
อศาลาการเปรี
ยญอี
สาน เป็
นศาสนคารที่
สรรเสริ
ญ
สุ
รวาทศิ
ลป์
(2545) ศึ
กษาและพบว่
ารูปแบบโครงสร้
างคติ
ความเชื่
อและบทบาทของ
หอแจกที่
มี
ต่
อชุ
มชนในอ.เกษตรวิ
สั
ย จ.ร้
อยเอ็
ด พบว่
ารูปแบบโครงสร้
างของหอแจก
มี
ลั
กษณะคล้
ายกั
บโครงสร้
างของบ้
านเรื
อนโดยทั่
วไปแต่
จะมี
ขนาดใหญ่
กว่
าบ้
าน
รูปแบบทางสถาปั
ตยกรรมสะท้
อนให้
เห็
นถึ
งความคิ
ด การออกแบบ ศิ
ลปวั
ฒนธรรม
พื้
นบ้
าน คติ
ความเชื่
อของแต่
ละท้
องถิ่
น ซึ่
งมี
คติ
ความเชื่
อบางอย่
างก็
คลายความเชื่
อ
ลง ทั้
งนี้
เนื่
องมาจากความเจริ
ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
และสั
งคม
ธาดา สุ
ทธิ
ธรรม(2540) ศึ
กษารูปแบบทางสถาปั
ตยกรรมของหอแจกสามารถ
จ�
ำแนก เป็
นแบบต่
างๆ คื
อ หอแจกไม้
ไม้
เป็
นวั
สดุ
ที่
ใช้
สร้
างหอแจกตั้
งแต่
การก�ำเนิ
ด
หอแจกในภาคอี
สานเมื่
อประมาณ 200 กว่
าปี
ก่
อน หอแจกปูน หมายถึ
ง หอแจกก่
อ
อิ
ฐฉาบปูน ที่
มี
การก่อสร้างในช่วงประมาณ 30-60 ปีมานี้
การก่อสร้างหอแจกด้วย
อิ
ฐและฉาบปูน ท�
ำให้
พั
ฒนาการทางรูปแบบของหอแจกมี
รูปแบบเฉพาะตั
ว หอแจก
คอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นหอแจกที่มีอายุไม่เกิน 30 ปี จะพบหอแจกที่มีโครงสร้าง
เสาและคานเป็
นคอนกรี
ตเสริ
มเหล็
ก ผนั
งเป็
นอิ
ฐซี
เมนต์
บล็
อกหรื
ออิ
ฐมอญฉาบ
ปูนซีเมนต์
มีลั
กษณะการตกแต่
งแบบสถาปั
ตยกรรมภาคกลาง เป็
นหอแจกที่
พบ
อยู่อย่างดาษดื่
นในปัจจุ
บั
น