268
โสวัฒนธรรม
5.4 พลังวัฒนธรรมในงานสถาปัตยกรรมและหัตถกรรม
งานสถาปั
ตยกรรมในภูมิ
ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ โดยส่
วนใหญ่
เป็
นการ
ศึ
กษาเชิ
งประวั
ติ
ศาสตร์
สถาปั
ตยกรรม ทั้
งส่
วนที่
เป็
นพั
ฒนาการและการศึ
กษา
คติ
ความเชื่
อที่
เกี่
ยวข้
องกั
บงานสถาปั
ตยกรรม ท่
ามกลางความหลากหลายทาง
วั
ฒนธรรมของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ความน่
าสนใจของงานสถาปั
ตยกรรมคื
อความ
หลากหลายทางรูปแบบและคติ
นิ
ยม ตลอดจนคติ
นิ
ยมของการสร้
างสถาปั
ตยกรรม
ของชุ
มชนแต่
ละกลุ
่
ม นพดล ตั้
งสกุ
ลและจั
นทนี
ย์
วงศ์
ค�
ำ (2546) ศึ
กษาถึ
งคติ
ความเชื่
อ
และระบบสั
งคมกั
บการปลูกสร้
างเรื
อนพื้
นบ้
านและชุ
มชนผู้
ไทนั้น พบว่
า “คติ
ความเชื่อ” เป็นกลไกในการก�ำหนดกรอบแนวและระบบสังคมผ่านทางวัฒนธรรม
ประเพณี
และพิ
ธี
กรรมสะท้
อนในวิ
ถี
ชี
วิ
ตและพฤติ
กรรม แม้
ลั
กษณะทางกายภาพ
และชุ
มชนและบ้
านเรื
อนมี
ความแตกต่
างออกไปแต่
กระบวนแนวคิ
ดในการแสดง
ความหมาย การศึกษาของจันทนีย์ วงศ์ค�
ำ(2544) ศึกษาพัฒนาการของเรือนพื้น
บ้านกะเลิ
ง : กรณี
ศึ
กษาบ้านหนองหนาว จั
งหวั
ดมุ
กดาหาร เป็นการศึ
กษาค้นคว้า
เอกลักษณ์ในเรือนพื้นถิ่นเพื่อน�
ำไปสู่การศึกษาเรือนพื้นถิ่นร่วมสมัยมีความจ�
ำเป็น
ต้
องค้
นคว้
าถึ
งเนื้
อหาจากรากฐานแต่
ละชุ
มชนนั้นอย่
างแท้
จริ
งและมิ
อาจใช้
การ
อ้างอิงเพื่อใช้กับแหล่งที่ตั้งอื่นๆ ได้ เนื่องด้วยแต่ละพื้นที่ย่อมมีความแตกต่าง แม้
เพี
ยงเล็
กน้
อยก็
มี
ผลต่
อพั
ฒนาการของเรื
อนในแต่
ละชุ
มชนนั้
น การศึ
กษาพั
ฒนาการ
เรื
อนเป็
นแนวทางหนึ่
งที่
จะท�
ำให้
เกิ
ดองค์
ความรู้
และเข้
าใจถึ
งรูปแบบเรื
อนวิ
ถี
ชี
วิ
ต
ความเป็
นอยู่
ตลอดจนลั
กษณะและข้
อก�
ำหนดต่
างๆ ที่
เกี่
ยวข้
องและยั
งขาดการน�
ำ
มาประยุ
กต์ใช้ในการสร้างสรรค์เพื่
อให้ได้เรื
อนที่
ผสมผสานของเรื
อนกะเลิ
ง บ้านหอ
นงหนาว อ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร เพื่อมุ่งหมายให้เข้าใจถึงทิศทางและ
รูปแบบของพัฒนาการเรือนรวมถึงปัจจัยที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงนั้
นและเพื่อค้นหา
ว่าการสร้างเรื
อนในช่วงเวลาใดที่
สามารถสะท้อนลั
กษณะดั้
งเดิ
มของเรื
อนในชุ
มชน
โดยการใช้
กรอบศึ
กษาที่
ยึ
ดกั
บระยะเวลาการสร้
างเรื
อนเป็
นหลัก ซึ่งแบ่
งออกเป็
น
3 ช่วงเวลา คื
อ เรื
อนกลุ่มใหม่ (0-30 ปี)