Previous Page  264 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 264 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

263

พูดภาษาเขมร (จ.บุ

รี

รั

มย์

,สุ

ริ

นทร์

,ศรี

สะเกษ) มี

เครื่

องดนตรี

คื

อ ซอกลาง 1 อั

น ปี่

อ้

1 เลา กลองกั

นตรึ

ม 2 ใบ ส่

วนภายหลั

งมี

ฉิ่

ง ฉาบ หรื

อตะเฆ่

ผสมด้

วยนั้

นเป็

นผลของ

วิ

วั

ฒนาการในระยะหลั

งต่

อมา กั

นตรึ

ม นอกจากเล่

นเพื่

อทรงเจ้

าแล้

วในสมั

ยโบราณ

ยังเล่

นเพื่อกล่อมหอในพิธีแต่งงานอีกด้วย ปั

จจุบันคนเล่

นดนตรีพื้นบ้

านประยุกต์

แล้วเรียกตนเองว่า นั

กกันตรึมส่วนมากไม่ได้เรียนจากครูโดยตรง มั

กเรียนจากเทป

บทความเกี่

ยวกั

บการฟ้อนสะเอิ

งของชาวไทยกูย กนกวรรณ ระลึ

ก (2545) พบว่า

การฟ้

อนสะเอิ

งมี

2 รูปแบบคื

อ การฟ้

อนเพื่

อการรั

กษาโรค และการฟ้

อนเพื่

อสั

กการะ

ผี

สะเอิ

งหรื

อการลงข่

วง การฟ้

อนเพื่

อการรั

กษาโรค เป็

นการฟ้

อนของแม่

สะเอิ

ใหม่ หมายถึ

ง การประกอบพิ

ธี

กรรม เข้าทรงผี

สะเอิ

งเป็นครั้

งแรก เพื่

อรั

กษาโรคภั

ไข้

เจ็

บ การฟ้

อนเพื่

อสั

กการะผี

สะเอิ

งหรื

อการลงข่

วง หมายถึ

ง การฟ้

อนเพื่

อไหว้

ผี

สะเอิ

งประจ�

ำปีของแม่สะเอิ

งเก่า

อั

มพร ยะวรรณ (2543) ศึ

กษาองค์

ประกอบและขั้

นตอนของประเพณี

ความเชื่

ที่

ปรากฏในประเพณี

การเต้

นสากกั

บกระบวนการขั

ดเกลาทางสั

งคมของกลุ

ชาติ

พั

นธุ์แสก บ้านอาจสามารถ อ�ำเภอเมื

อง จั

งหวั

ดนครพนม พบว่าแสกเต้นสาก

ประกอบด้

วยผู้

เต้

นสาก ไม้

สากที่

ใช้

เต้

น เครื่

องดนตรี

ที่

ใช้

บรรเลง เพลงที่

ใช้

ร้

อง

ประกอบเป็

นภาษาแสก ขั้

นตอนแบ่

งเป็

นขั้

นเตรี

ยมการ และขั้

นด�

ำเนิ

นการ ประเพณี

การเต้

นสากเป็

นกระบวนการขั

ดเกลาทางสั

งคมที่

มี

อิ

ทธิ

พลตั้

งแต่

วั

ยเด็

กจนถึ

งวั

ยชรา

เครื

อมาส บุ

ญธรรม (2537) ศึ

กษาการฟ้

อนโปงลางของจั

งหวั

ดกาฬสิ

นธุ์

เป็

นท่

าฟ้

อน

ที่

ประดิ

ษฐ์

ขึ้

นจากจิ

นตนาการของชาวบ้

านที่

มี

ชื่

อเสี

ยง จั

งหวะและท�

ำนองของ

โปงลางในรูปแบบต่

างๆ ซึ่

งเรี

ยกเป็

นภาษาถิ่

นว่

า “ลาย” แต่

ละลายมี

ชื่

อตาม

ความหมาย เช่

น ลายไหว้

ครู ลายช้

างขึ้

นภู ลายนกไซบิ

นข้

ามทุ่

ง ลายผู้

ไทยเลาะตุ

ลายเต้

นโขง ซึ่

งแต่

ละลายสามารถน�ำมาประกอบกั

บการฟ้

อนในชุ

ดการแต่

งกาย

พื้

นเมื

องต่

างๆ ด้

วยท่

าทางที่

แสดงออกให้

เกิ

ดความสั

มพั

นธ์

อย่

างเหมาะสมกั

บเนื้

อหา

ของลายนั้

นๆ

ส�

ำนั

กงานคณะกรรมการวั

ฒนธรรมแห่งชาติ

(2540) ศึ

กษาเกี่

ยวกั

บประวั

ติ

และผลงานดีเด่นทางด้

านวัฒนธรรม ซึ่งทางคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้