262
โสวัฒนธรรม
มี
ประวั
ติ
และพั
ฒนาการ 3 ทาง คื
อ พั
ฒนามาจากลั
ทธิ
บูชาพญาแถนหรื
อผี
ฟ้
า
พัฒนามาจากประเพณี
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา และพัฒนามาจากประเพณี
เกี้
ยวพาราสี
ระหว่
างหนุ
่
มสาว ด้
านกระบวนการปรั
บเปลี่
ยนทางวั
ฒนธรรมดนตรี
ของหมอล�
ำพบว่า เกิ
ดจากปัจจั
ยหลายด้าน กั
บการผสมผสานภูมิ
ปัญญาพื้
นบ้าน
นิ
ทราพร ทิ
พา (2539) วิ
เคราะห์
เนื้
อหาของเพลงพื้
นบ้
านหมอล�
ำที่
สะท้
อนถึ
งความเชื่
อ
ค่านิ
ยม ขนบธรรมเนี
ยมประเพณี
การด�
ำเนิ
นชี
วิ
ต และความรู้ด้านต่างๆ ของชาว
อี
สาน เพลงพื้
นบ้านหมอล�
ำที่
น�
ำมาวิ
เคราะห์มี
จ�
ำนวนทั้
งสิ้
น 25 ชุ
ด รวม 267 เพลง
โดยรวบรวมจากเทปเพลงพื้
นบานหมอล�
ำ ที่
วางจ�
ำหน่
ายในประเทศไทย ในช่
วง
เดื
อนมกราคม-ธั
นวาคม (2538)
ส่
วนดนตรี
และการแสดง ในสั
งคมภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ มี
ความ
หลากหลายทางวั
ฒนธรรมดนตรี
การแสดงท่
ามกลางความหลากหลายทาง
วั
ฒนธรรมของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ ปิยพั
นธ์ แสนทวี
สุ
ข (2541) การสร้างฐานข้อมูลทาง
ดนตรี
และศิ
ลปะการแสดงพื้
นบ้
านอี
สาน โดยเนื้
อหามี
2 ส่
วนคื
อ ด้
านเครื่
องดนตรี
พื้
น
บ้
านอี
สาน มี
เนื้
อหา 34 เรื่
อง และด้
านศิ
ลปะการแสดงพื้
นบ้
านอี
สาน มี
เนื้
อหา 32 เรื่
อง
เมื่
อพิ
จารณาความเหมาะสมของโปรแกรมรายด้
านพบว่
าด้
านกายภาพของ CD-ROM
มีความเหมาะสมมาก ด้
านเนื้อหาของฐานข้
อมูล พบว่าเสียงดนตรีประกอบและ
การแบ่
งเนื้
อหาสามารถสร้
างความเข้
าใจเนื้
อหาเหมาะสมระดั
บมากด้
านรูปแบบ
กราฟฟิ
กและมั
ลติ
มี
เดี
ย พบว่
าความเข้
าใจในการอ่
านหน้
าจด/ปุ
่
มการใช้
งาน
เหมาะสมมาก คมกริ
ช การิ
นทร์
(2542) กล่
าวถึ
งเกี่
ยวกั
บดนตรี
ของชาวภูไท จั
งหวั
ด
กาฬสิ
นธุ
์
ซึ่
งดนตรี
ของชาวภูไทกลุ
่
มนี้
ส่
วนใหญ่
เป็
นการเล่
นเพื่
อความบั
นเทิ
งหรื
อ
เล่นเพื่อประเพณี
ชีวิต เช่น พอถึงยามค�่ำคืน หนุ่มสาวชาวภูไทต่างพากันเป่าแคน
ดี
ดพิ
ณ ไปตามบ้านที่
มี
สาวๆ เพื่
อไปพูดคุ
ย บางที
ก็
ไปตามตูบ (กระท่อม) หรื
อไป
ตามข่วง (ลานบ้าน) ที่
มี
สาวๆ ลงมาเข็
นฝ้าย
คริ
สเตี
ยน บาวเวอร์ (2536) ศึ
กษาการแสดงเจรี
ยงเบริ
ญ เป็นเพลงพื้
นฐาน
เขมรที่
มี
ลั
กษณะการขั
บเหมื
อนกั
บการขั
บล�
ำของหมอล�
ำลาว มงกฎ แก่
นเดี
ยว (2537)
กล่าวถึ
งกั
นตรึ
ม ดนตรี
ไทย เชื้
อสายเขมร เป็นดนตรี
พื้
นเมื
องในท้องถิ่
นที่
ประชาชน