260
โสวัฒนธรรม
การเปลี่
ยนแปลงโลกทั
ศน์
ในกลอนล�ำเรื่
องร่
วมสมั
ย โดยศึ
กษาจากกลอนล�ำเรื่
อง
แนวใหม่ที่
แต่งขึ้
นในปีพ.ศ.2537 - 2543 จ�
ำนวน 19 เรื่
อง พบว่า กลอนล�ำเรื่
องแนว
ใหม่
ที่แต่
งร่
วมสมัยมีลั
กษณะร่
วมกั
นด้
านองค์
ประกอบดังนี้
ลั
กษณะโครงเรื่
องน�
ำ
เสนอภาพปัญหาชีวิตของชาวบ้านในชนบทอีสาน แสดงความคิดและปรารถนาที่
ยกระดั
บคุ
ณภาพชี
วิ
ตให้
ดี
ขึ้
น ลั
กษณะตั
งละครส่
วนใหญ่
ยากจน เรื่
องกระชั
บรวดเร็
ว
และสะท้อนภาพการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมวั
ฒนธรรม
หมอล�
ำท�
ำนองขอนแก่
น เป็
นกลุ
่
มหมอล�
ำยุ
คแรกที่
มี
หางเครื่
อง ปั
ทมาวดี
ชาญสุ
วรรณ (2542) ศึ
กษาพั
ฒนาการของหางเครื่
องหมอล�
ำหมู่วาดขอนแก่น พบ
ว่
าเริ่
มจากการออกมาฟ้
อนคล้
ายกั
บการออกแขกของลิ
เกก่
อนการแสดงหมอล�
ำ ครั้
น
อิ
ทธิ
พลของวงดนตรี
ลูกทุ
่
งแพร่
กระจายเข้
ามา หมอล�
ำหมู่
จะเริ่
มน�
ำเครื่
องดนตรี
สากลมาบรรเลงและมีหางเครื่องมาเต้
นประกอบการร้องเพลง ตลอดจนปรับปรุง
เวที
ประมวล พิ
มพ์
เสน (2543) รวบรวมกลอนล�
ำมาจั
ดพิ
มพ์
เป็
นรูปเล่
มเพื่
อส่
งเสริ
ม
กลุ่มหมอล�
ำและผู้ที่
สนใจทั่
วไปให้มี
กลอนล�
ำโดย ล�
ำเต้ย เป็นหมอล�
ำประเภทหนึ่
ง
ในอดี
ตมี
การแสดงทั่
วไปในจั
งหวั
ดขอนแก่
น โดยเฉพาะต�
ำบลพระลั
บ และมี
การ
แสดงมากที่
สุ
ดที่
บ้
านโนนทั
น จนบางครั้
งชาวขอนแก่
นเรี
ยกล�
ำเต้
ยโนนทั
น การล�
ำเต้
ย
เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่สนุ
กสนานสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและระหว่าง
กลุ่มได้ยอดเยี่ยม ศูนย์วัฒนธรรม จ.ขอนแก่นจึงได้สนับสนุ
น ให้มีการรื้อฟื้นกลับ
คื
นมาอี
กครั้
งหนึ่
ง
การแสดงตลกในหมอล�
ำได้รั
บความสนใจโดย วราพร แก้วใส(2544) ศึ
กษา
ลั
กษณะการแสดงตลกหมอล�ำหมู่
ในเขตอ�
ำเภอเมื
อง จั
งหวั
ดขอนแก่
น จากคณะ
หมอล�
ำหมู่ที่
ได้รั
บความนิ
ยม 9 คณะ พบว่าลั
กษณะการแสดงตลกของหมอล�
ำหมู่
เป็
นการผสมผสานทางวั
ฒนธรรมโดยรั
บเอาวั
ฒนธรรมและการเปลี่
ยนแปลงของ
วงดนตรี
ลูกทุ่งมาปรั
บปรุ
งประยุ
กต์กั
บวั
ฒนธรรมของตนเองโดยการเลี
ยนแบบและ
พั
ฒนาขึ้
นด้
วยเหตุ
ผลจากอิ
ทธิ
พลความนิ
ยมของกลุ
่
มผู้
ชมเป็
นตั
วก�
ำหนดเงื่
อนไข
แสดงให้
เห็
นถึ
งพั
ฒนาการที่
ต่
อเนื่
องมี
การจั
ดวางระเบี
ยบขั้
นตอนในการแสดง
มี
การสร้าง “มุ
ขตลก”