Previous Page  258 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 258 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

257

ส่

วนใหญ่

มั

กจะเป็

นในลั

กษณะการขั

บร้

องหรื

อศิ

ลปะการใช้

เสี

ยงประกอบการแสดง

ดั

งเช่นการแสดงหมอล�

ำประเภทต่างๆ เช่น หมอล�ำหมู่ หมอล�

ำเพลิ

น เป็นต้น ซึ่

นอกจากที่

กล่าวมาแล้วนี้

ยั

งมี

การแสดงอี

กประเภทหนึ่

งที่

เรี

ยกว่า การฟ้อน ซึ่

งการ

ฟ้อนของชาวอี

สานนั้

น เป็นการคิ

ดประดิ

ษฐ์ขึ้

นจากท่าทางลี

ลาต่างๆ ซึ่

งมาจากท่า

ที่

มี

มาแต่ดั้

งเดิ

ม หรื

อเลี

ยนแบบจากอากั

ปกิ

ริ

ยาของร่างกายต่างๆ ตามธรรมชาติ

ที่

มี

อยู่ทั้

งจากคน สั

ตว์ หรื

อจากจิ

นตนาการ โดยพยายามคิ

ดดั

ดแปลงให้มี

ลี

ลาอ่อน

ช้

อยสวยงาม เช่

น ท่

ายูงล�

ำแพน ท่

าสาวปะแป้

ง ท่

าล�

ำเพลิ

น ท่

าหงส์

บิ

นเวิ

น เป็

นอาทิ

การน�

ำอาการของสิ่

งต่างๆ ดั

งกล่

าวนี้

มาประยุ

กต์ใช้ ชาวอี

สานเรี

ยกว่า การ

ฟ้

อน ซึ่

งการฟ้

อนนั้

นในอดี

ตดั้

งเดิ

มนั้

นจะเป็

นการน�

ำไปประกอบการเซิ้

งต่

างๆ โดยจะ

มี

บทขั

บเรี

ยกว่

า กาพย์

เซิ้

ง เช่

น เซิ้

งบั้

งไฟ เซิ้

งนางแมว เซิ้

งนางด้

ง เป็

นต้

น ครั้

นต่

อมา

จึ

งได้

มี

การน�

ำเอาดนตรี

เข้

าไปประกอบในการฟ้

อนด้

วย และได้

มี

การประดิ

ษฐ์

ท่

าฟ้

อนจากท่

าพื้

นบ้

านให้

สวยงามมากขึ้

น ทั้

งนี้

เพื่

อให้

สอดคล้

องในท่

วงท�

ำนองและ

จั

งหวะของดนตรี

ที่

น�ำมาประกอบ ซึ่

งปั

จจุ

บั

นจะเห็

นว่

าการฟ้

อนประกอบดนตรี

ของ

อี

สานมี

อยู่หลายชุ

ด เช่น ฟ้อนแพรวา ฟ้อนภูไท 3 เผ่า ฟ้อนบายศรี

เป็นต้น

ส�

ำหรั

บดนตรี

พื้

นบ้

านอี

สานนั้

นส่

วนใหญ่

เกิ

ดจากประสบการณ์

ในกิ

จวั

ตร

ความเป็

นอยู่

ในวิ

ถี

ชี

วิ

ตประจ�

ำวั

น อั

นเกิ

ดจากการประกอบอาชี

พประจ�

ำฤดูกาล

ต่

างๆ เช่

น การจั

บสั

ตว์

น�้ำ สั

ตว์

บก การท�

ำไร่

ไถนา หรื

อสั

มพั

นธ์

เกี่

ยวข้

องกั

บประเพณี

พิ

ธี

กรรมและความเชื่

อ ตลอดจนสะท้

อนให้

เห็

นถึ

งความสนุ

กสนานเพลิ

ดเพลิ

นอั

นเกิ

จากอุปนิสัยใจคอท่ามกลางวิถีชีวิตของสังคมอีสาน ทั้งนี้ในส่

วนของลักษณะของ

ดนตรีพื้นบ้

านอีสานจะมี

ความแตกต่

างกั

นไปตามกลุ่

มวัฒนธรรมของท้

องถิ่

นนั้

นๆ

กล่าวคื

อ กลุ่มวั

ฒนธรรมไทย - ลาว (อี

สานเหนื

อ) และกลุ่มวั

ฒนธรรมไทย - เขมร

(อีสานใต้) ซึ่งจะมีความแตกต่างทางด้านสุ้มเสียง ส�ำเนียงดนตรีตลอดจนรูปแบบ

ซึ่

งจะมี

ความเป็นเอกลั

กษณ์เฉพาะแตกต่างกั

นไป เช่น ท�

ำนอง ทางอี

สานเหนื

อจะ

เรี

ยกว่า ลายเพลง ส่วนทางอี

สานใต้จะเรี

ยกว่า บอดเพลง เป็นต้น