Previous Page  256 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 256 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

255

ของแอ่

งอารยธรรมอี

สานอั

นเต็

มไปด้

วยร่

องรอยและหลั

กฐานทางประวั

ติ

ศาสตร์

และโบราณคดีที่พร้

อมจะพลิกให้

เห็นโฉมหน้

าที่แท้

จริงของประวัติศาสตร์ไทยและ

ประวัติศาสตร์ของภูมิภาคอาคเนย์ ประกอบด้วยบทความได้แก่ อีสาน 2 แอ่ง :

แอ่งสกลนคร-แอ่งโคราช ธี

รพงษ์ จตุ

รพาณิ

ชย์ (2548) ศึ

กษาที่

มาและลั

กษณะพระ

พิ

มพ์เมื

องกั

นทรวิ

ชั

ย พระพิ

มพ์นาดูนและพระพิมพ์เมื

องไพร ซึ่

งเป็นพระพิ

มพ์ที่

ถูก

ค้

นพบในภาคอี

สานตอนกลาง ซึ่

งได้

แก่

จั

งหวั

ดมหาสารคาม กาฬสิ

นธุ์

และร้

อยเอ็

พระพิ

มพ์

หมายถึ

งพระพุ

ทธรูปที่

สร้

างขึ้

นตามแม่

พิ

มพ์

เป็

นอุ

เทสิ

กะเจดี

ย์

อย่

างในคติ

ความเชื่

อทางพุ

ทธศาสนาจากความเชื่

อของชาวบ้าน ท�

ำให้เกิ

ดการประกอบอาชี

ท�

ำพระพิ

มพ์ใหม่เลี

ยนแบบของเก่า ให้เช่าแก่ผู้ที่

สนใจ น�

ำไปบูชาของเก่าที่

หาไม่ได้

หรื

อมี

ค่าแพง นั

บได้ว่าพระพิ

มพ์เป็นอุ

เทสิ

กเจดี

ย์ท�

ำให้ผู้พบเห็

นเกิ

ดพุ

ทธานุ

สติ

สมเดช ลี

ลามโนธรรม (2543) ศึ

กษาหลั

กหิ

นที่

ค้

นพบในเขตภาคอี

สาน เช่

นที่

บ้

านโนนตื้

อ ต�

ำบลเสมาใหญ่

อ�

ำเภอบั

วใหญ่

บ้

านเดิ่

นเห็

ดหิ

น อ�

ำเภอโนนสูง จั

งหวั

นครราชสี

มา เป็

นต้

น หลั

กหิ

นที่

กล่

าวมาท�ำด้

วยหิ

นทราย สี

ขาวหรื

อแดงหรื

อศิ

ลาแลง

ลั

กษณะเป็

นแท่

งสี่

เหลี่

ยม ส่

วนยอดโค้

งมน หรื

อเป็

นยอดแหลม บางหลั

กมี

การ

สลักภาพพระพุทธรูปยืนทั้งสี่ด้าน ส�ำหรับหน้าที่การใช้งานของแท่งหินเหล่านี้มีข้อ

สั

นนิ

ษฐาน คื

อ ใช้เป็นหลั

กเขตของศาสนสถานหรื

อชุ

มชน เพราะการปกครองของ

กษั

ตริ

ย์

ในวั

ฒนธรรมเขมรมั

กมี

การสร้

างศาสนถานประจ�

ำชุ

มชนขึ้

นและมี

การถวาย

ที่

ดิ

น ข้

าทาส สั

ตว์

ฯลฯแก่

เทพเจ้

าที่

ประทั

บอยู่

ในศาสนสถานนั้

น ใช้

เป็

นหลั

กก�

ำหนด

เส้

นทางติ

ดต่

อระหว่

างชุ

มชน งานศึ

กษษวั

ฒนธรรมราณ คั

คนางค์

รองหานาม

(2543) ศึ

กษารูปแบบลวดลายสลั

กหิ

นและความสั

มพั

นธ์

ในการตกแต่

งลวดลายสลั

หิ

นในสถาปัตยกรรมกู่กาสิ

งห์ อ�

ำเภอเกษตรวิ

สั

ย จั

งหวั

ดร้อยเอ็

ด พบว่า กุ่กาสิ

งห์

เป็

นสถาปั

ตยกรรมที่

สร้

างขึ้

นตามอิ

ทธิ

พลทางศิ

ลปะเขมรในพุ

ทธศตวรรษที่

16

เป็นต้นมา สร้างด้วยวัสดุที่เป็นศิลาแลงหินทราย และอิฐ ลวดลายส่วนใหญ่สลัก

บนหิ

นทรายและได้

รูปแบบมาจากปรากฏการณ์

ทางธรรมชาติ

ผนวกกั

บจิ

นตนาการ

ทางความเชื่

อในศาสนาพราหมณ์

ที่

สื

บทอดมาในอดี

ต เป็

นประติ

มากรรมในรูปแบบ

ของภาพบุ

คคล สั

ตว์

และสิ่

งของ การสร้

างประติ

มากรรมสลั

กหิ

น การศึ

กษาเตา