งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
253
คติ
ความเชื่
อเกี่
ยวกั
บใบเสมาเมื
องฟ้
าแดดสงยาง ต�ำบลหนองแปน อ�
ำเภอกมลาไสย
จั
งหวั
ดกาฬสิ
นธุ์
พบว่าใบเสมาที่
น�
ำมาศึ
กษาจ�
ำนวน 165 แผ่น มี
ลั
กษณะแตกต่าง
กั
นหกรูปแบบ คื
อ แบบแผ่นกิ
นหน้าเรี
ยบสม�่ำเสมอ แบบสลั
กเป็นสั
นนูนตรงกลาง
แผ่น แบบสลักเป็นรูปสถูปเจดีย์ตรงกลางแผ่
น แบบแท่
งหินทรงสี่เหลี่ยมด้านเท่า
แบบแท่
งหิ
นแปดเหลี่
ยม และแบบแผ่
นหิ
นสลั
กเป็
นภาพเล่
าเรื่
องนูนต�่
ำ ส่
วนคติ
ความ
เชื่
อพบว่
าใบเสมาดั
งกล่
าวสร้
างขึ้
นเพื่
อใช้
ก�
ำหนดเขตท�
ำสั
งฆกรรมตามความเชื่
อทาง
พุ
ทธศาสนา และสร้างเพื่
อถวายเป็นการกุ
ศล ซึ่
งต่อมาชาวบ้านเชื่
อว่าเป็นวั
ตถุ
ที่
มี
ความศักดิ์สิทธิ์ จึงมีการน�
ำใบเสมาบางแผ่นไปใช้ตามสถานที่ต่างๆ เพื่อบูชาและ
ประกอบพิ
ธี
กรรมตามประเพณี
ของชาวบ้าน
เช่
นเดี
ยวกั
บการตี
ความทางศิ
ลปะและประติ
มานวิ
ทยาของอรุ
ณศั
กดิ์
กิ่
งมณี
(2546) เกี่
ยวกั
บใบเสมาบ้
านหนองห้
าง อ�
ำเภอกุ
ฉิ
นารายณ์
จั
งหวั
ดกาฬสิ
นธุ
์
พบว่า ใบเสมา แผ่นนี้
สลั
กจากหิ
นทรายสีขาวอมเหลื
องมี
ขนาดสูง 162 เซนติ
เมตร
กว้
าง 58 เซนติ
เมตร และหนา 20 เซนติ
เมตร ลักษณะเป็
นทรงโค้
งแบบกลี
บบั
ว
ด้านหน้าสลั
กเป็นภาพคนอยู่ทางด้านบน เยื้
องมาทางขวาเป็นภาพบุ
รุ
ษยื
นตรงบน
แท่
น นอกจากนี้
ยั
งมี
บุ
คคลอยู่
ด้
านล่
างเยื้
องมาทางซ้
าย จากภาพเมื่
อตรวจสอบ
แล้
วพบว่
าน่
าจะเป็
นภาพเล่
าเรื่
องมหานารทกั
สสปชาดก อั
นเป็
นล�
ำดั
บที่
544 ผาสุ
ข
อิ
นทราวุ
ธและคณะ (2544) ขุ
ดค้
นเมื
องโบราณฟ้
าแดดสงยางซึ่
งตั้
งอยู่
อ�
ำเภอกมลาไสย
จั
งหวั
ดกาฬสิ
นธุ์
พบว่
า ในอดี
ตมี
การปลงศพโดยการฝั
งยาว ต่
อมาเริ่
มมี
พั
ฒนาการ
ทางเทคโนโลยี
สูงขึ้
นรู้
จั
กผลิ
ตภาชนะดิ
นเผาจากเตาเผาประเภทที่
ระบายความร้
อน
ในแนวระนาบ ถลุ
งเหล็
กน�
ำมาท�
ำเป็
นเครื่
องมื
อเครื่
องใช้
นิ
ยมปลงศพโดยการฝั
งใน
ไห และพั
ฒนาการเจริ
ญรุ่
งเรื
องทางพุ
ทธศาสนา และหั
นมาเปลี่
ยนคติ
นิ
ยมเกี่
ยวกั
บ
การปลงศพคือการเผาแล้วเก็บในอัฐิใส่โกศดินฝั
งไว้
ใต้
ศาสนสถาน ตามล�
ำดับ ที่
เมื
องฟ้าแดดสูงยาง มี
การศึ
กษาทางประติ
มานวิ
ทยาโดยอรุ
ณศั
กดิ์
กิ่
งมณี
(2540)
ใบเสมา ซึ่
งสลั
กภาพ “ภูริ
ทั
ตชาดก” ที่
จั
งหวั
ดกาฬสิ
นธุ์ พบว่า ใบเสมาสลั
กภาพ
ซึ่
งค้นพบจากเมื
องฟ้าแดดสงยางนี้
สั
นนิ
ษฐานว่า คงเป็นภาพสลั
ก ซึ่
งสลั
กภาพใน
มหานิ
บาตชาดกเกี่
ยวกั
บพระภูริ
ทั
ต(ภูริ
ทั
ตชาดก) อั
นถื
อเป็น 1 ใน 10 พระชาติ
ที่