252
โสวัฒนธรรม
เรี
ยกตามที่
ได้
มาของครูช่
าง ลั
กษณะคุ
ณค่
าความงามของลวดลายช่
างจะออกแบบ
ให้มี
ส่วนประกอบของศิ
ลปะปรากฏอยู่ในแต่ละลวดลายได้แก่
ความงามที่
เกิ
ดจาก
เส้นรูปร่าง รูปทรง แสง-เงา พื้
นผิ
ว ช่องว่าง และสี
ผสมผสานกั
นอย่างลงตั
ว
อย่
างไรก็
ตาม ผลงานที่
พบมากในช่
วงทศวรรษที่
2540-2550 กลั
บเป็
น
ผลงานทางประวั
ติ
ศาสตร์
ศิ
ลปะ โบราณคดี
และศิ
ลปะแบบจารี
ตท้
องถิ่
น รวมทั้
ง
ประเด็
นในการอนุ
รั
กษ์
ศิ
ลปกรรมท้
องถิ่
นเป็
นหลั
กบทความของประกอบ มี
โคตรกอง
(2544) เสนอผลที่
เกี่
ยวกั
บพระสงฆ์
กั
บการอนุ
รั
กษ์
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมพื้
นบ้
าน กรณี
การ
อนุ
รั
กษ์
จิ
ตรกรรมฝาผนั
งวั
ดไชยศรี
บ้
านสาวะถี
อ�
ำเภอเมื
อง จั
งหวั
ดขอนแก่
น พบว่
า
ชาวอีสานได้สืบทอดวัฒนธรรมร่วมกับอาณาจักรล้านช้างที่เรียกว่า วัฒนธรรมลุ่ม
น�้
ำโขง มาตั้
งแต่โบราณ จึ
งมี
รูปแบบของวั
ฒนธรรมเฉพาะของประชาชนลุ่มน�้
ำโขง
เช่น ภาษาท้องถิ่
น ตั
วอั
กษร และวรรณกรรม วรรณกรรมพื้
นบ้านเหล่านี้
ชาวบ้าน
ได้
อนุ
รั
กษ์
สื
บทอดต่
อๆ กั
นมาโดยวั
ดเป็
นศูนย์
กลาง เป็
นสถานที่
เก็
บรั
กษา เป็
น
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์
ใช้
อ่
านหรื
อเทศน์
ให้
ชาวบ้
านฟั
ง รวมทั้
งเป็
นศูนย์
กลางของการสร้
างสรรค์
วรรณกรรมพื้
นบ้
าน ส่
วนจิ
ตรกรรมฝาผนั
งสิ
ม(โบสถ์
)วั
ดไชยศรี
แห่
งนี้
จะอยู่
รอบนอก
อุ
โบสถ ซึ่
งตามความเชื่
อของชาวบ้
านอี
สานว่
าสุ
ภาพสตรี
จะขึ้
นไปบนสิ
มไม่
ได้
เพราะ
เป็นที่
ท�
ำสั
งฆกรรมของพระสงฆ์
วิ
ทยานิ
พนธ์
ในระดั
บบั
ณฑิ
ตของธรรมศั
กดิ์
ชิ
ตทรงสวั
สดิ์
(2543) ศึ
กษาความรู้
ทั่
วไปเกี่
ยวกับคนจี
นในจั
งหวั
ดร้อยเอ็
ด รูปแบบและความหมายที่
ปรากฏในผลงาน
ศิ
ลปะแบบอย่
างจี
น คติ
ความเชื่
อที่
ปรากฏในผลงานศิ
ลปะ พบว่
า ชาวจี
นเคลื่
อนย้
าย
เข้
ามาอยู่
ในจั
งหวั
ดร้
อยเอ็
ดอยู่
2 ทาง คื
อทางแรกผ่
านทางจั
งหวั
ดนครราชสี
มา
มหาสารคาม โดยอาศั
ยขบวนวั
วต่
างๆ และทางที่
สองผ่
านทาง จั
งหวั
ดนครราชสี
มา
สุ
ริ
นทร์ โดยอาศั
ยรถไฟเป็นพาหนะเดิ
นทาง ส่วนรูปแบบและความหมายศิ
ลปะนั้
น
ดูได้
จากที่
อยู่
อาศั
ย ศาลเจ้
าจี
น และสถานที่
เคารพอื่
นของคนไทย เช่
น วั
ดไทย
ศาลหลักเมือง ส่วนคติความเชื่อที่ปรากฏในผลงานศิลปะแบบอย่างจีนนั้
นที อาทิ
เชื่
อเกี่
ยวกั
บการมี
อายุ
ยื
น
ในการศึ
กษาประวั
ติ
ศาสตร์
ศิ
ลปะไชยยศ วั
นอุ
ทา (2537) ศึ
กษารูปแบบและ