254
โสวัฒนธรรม
ส�ำคัญยิ่งในอดีตของพระพุทธองค์
ใบเสมาหินที่พบจากเมืองฟ้
าแดดสงยางเหล่า
นี้
คงมี
อายุ
ราวพุ
ทธศตวรรษที่
14-15
นิ
ยม วงษ์
พงษ์
ค�
ำ (2540) ศึ
กษาลั
กษณะรูปแบบ ขนบธรรมเนี
ยม คติ
ความเชื่
อ
และความสั
มพั
นธ์
ของชาวบ้
านเปื
อยน้
อย กั
บประติ
มากรรมที่
พบในปราสาท
เปื
อยน้
อย พบว่
าลั
กษณะของภาพสลั
กหิ
นแบ่
งเป็
น 3 ลั
กษณะ คื
อ เกี่
ยวกั
บภาพสลั
ก
บุ
คคล เกี่
ยวกั
บสั
ตว์ และเกี่
ยวกั
บลวดลายประดั
บตกแต่ง และมี
ความสั
มพั
นธ์กั
บ
ชาวบ้
านในอ�
ำเภอเปื
อยน้
อยมาก เพราะชาวบ้
านเชื่
อว่
ามี
วิ
ญญาณของคนชั้
นสูงสถิ
ต
อยู่ รายงานทางวัฒนธรรมในอดีตที่ปรากฏสัมพันธ์กับการเป็นแอ่งอารยธรรมของ
ภูมิ
ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ พจนา วรรณจั
นทร์
(2540) ศึ
กษารูปแบบและคติ
ความเชื่
อ
เกี่
ยวกั
บประติ
มากรรมแบบเขมรที่
ปราสาทหิ
นพนมวั
น จั
งหวั
ดนครราชสี
มา พบว่า
ประติมากรรมในศิลปะแบบเขมรที่ปราสาทหินพนมวันได้สร้างขึ้นมาเพื่อประกอบ
สถาปั
ตยกรรมเป็
นประติ
มากรรมนูนต�่
ำ ในส่
วนที่
เป็
นทั
บหลั
ง หน้
าบั
น และกลี
บ
ขนุ
นปรางค์
เป็
นความเชื่
อในศาสนาพราหมณ์
ส่
วนประติ
มากรรมลอยตั
วที่
พบอยู่
ใน
บริ
เวณปราสาท เป็
นพระพุ
ทธรูป เทวรูป และพาหนะเครื่
องใช้
ของเทพ เป็
นความเชื่
อ
ทั้
งในศาสนาพราหมณ์ และพุ
ทธศาสนา ซึ่
งได้สร้างเพื่
อประกอบความเชื่
อที่
นั
บถื
อ
ของมนุ
ษย์
อดี
ตอย่
างต่
อเนื่
องกั
นมา 200 ปี
ตั้
งแต่
พ.ศ.1425-2330 ในศิ
ลปกรรมเขมร
แบบประโค บาแค็
ง เกาะแกร์ แปรรูป บั
นทายเสรี
คลั
ง และบาปวน
ด้
านคติ
ความเชื่
อทางประติ
มาณวิ
ทยา ผกา เบญจกาญจน์
(2540)
การศึ
กษารูปแบบและคติ
ความเชื่
อของประติ
มากรรมเทพร�
ำที่
ปราสาทหิ
นพิ
มายและ
ศึ
กษารูปแบบท่
าทางการร่
ายร�
ำของภาพเทพร�
ำที่
มี
ส่
วนสั
มพั
นธ์
กั
บท่
าร�
ำในแม่
ท่
าร�
ำ
ของนาฏศิ
ลป์
ไทย พบว่
าภาพประติ
มากรรมที่
สลั
กเป็
นเทพร�
ำแสดงให้
เห็
นนาฏตลี
ลา
สองชนิ
ด คื
อ การฟ้อนร�ำ และการแสดงอิ
ริ
ยาบถต่างๆ ของบุ
คคลชั้
นสูง ลี
ลาการ
ร่ายร�ำสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อของคนเกี่ยวกับความดีและความชั่วร้ายของเทพ
ทั้
งในศาสนาพุทธและพราหมณ์
ในมุ
มกว้างทางวั
ฒนธรรมโบราณศรี
ศั
กร วั
ลลิ
โภดม (2546) เสนอเรื่
องราว