Previous Page  252 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 252 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

251

การศึ

กษาองค์

ประกอบของจิ

ตรกรรมฝาผนั

งของ เพ็

ญผกา นั

นทดิ

ลก (2541)

เรื่

องมหาเวสสั

นดรชาดกตามลั

กษณะแนวคิ

ด รูปทรง หลั

กและวิ

ธี

การเขี

ยนภาพ

ตลอดจนคุ

ณค่

าของจิ

ตรกรรมในวิ

ถี

ชี

วิ

ตของชาวบ้

านยาง พบว่

าภาพจิ

ตรกรรม

เรื่องมหาเวสสันดรชาดกเมื่อเทียบกับเรื่องอื่นๆ บนผนั

งสิมด้านนอกมีจ�

ำนวนภาพ

มากกว่าเรื่

องอื่

น เขี

ยนขึ้

นโดยชาวบ้านและพระสงฆ์เมื่

อ พ.ศ.2465 เพื่

อเป็นเครื่

อง

บูชาคุณพระศรีรัตนตรัย การจัดองค์ประกอบของภาพนั้

นได้จัดเรื่องมหาเวสสันดร

ชาดกเป็น 13 กั

ณฑ์ โดยเรี

ยงจากซ้ายไปขวา และพบว่าจิ

ตรกรรมฝาผนั

งเรื่

องมหา

เวสสันดรชาดก สิมวัดบ้

านยาง สัมพันธ์

กับประเพณี

การท�

ำบุญมหาชาติของชาว

บ้

านซึ่

งกระท�ำในเดื

อนสี่

ทุ

กปี

ส่

วนการศึ

กษาองค์

ประกอบของจิ

ตรกรรมซึ่

ง ประเทศ

ปัจจังคะตา (2541) ภาพสะท้อนที่ปรากฏในภาพจิตรกรรมฝาผนั

งสิมวัดป่

าเรไรย์

จั

งหวั

ดมหาสารคาม พบว่

าจิ

ตรกรรมฝาผนั

งภายในสิ

มเป็

นเรื่

องราวพุ

ทธประวั

ติ

และภายนอกเป็นพุ

ทธศาสนนิ

ทาน การก�

ำหนดองค์ประกอบในการสร้างจิ

ตรกรรม

ภายในจะก�

ำหนดบนบริ

เวณระหว่

างช่

องว่

างระหว่

างห้

อง ส่

วนภายนอกจะเรี

ยงล�

ำดั

จากขวาไปซ้าย การสร้างจิ

นตนาการนี้

สะท้อนให้เห็

นถึ

งความเป็นอยู่ของชาวบ้าน

สถาปั

ตยกรรมสิ

มหรื

ออุ

โบสถจากงานของ ศิ

ริ

พั

นธ์

ตาบเพ็

ชร (2541)

ที่

พบว่

า ในภาคอี

สานมี

สถาปั

ตยกรรมพื้

นถิ่

นที่

น่

าสนใจ คื

อ สิ

มหรื

ออุ

โบสถ มี

รูปแบบ

เฉพาะตั

วที่

มั

กสร้

างให้

มี

ขาดเล็

กกะทั

ดรั

ดเพี

ยงพอแก่

ประโยชน์

ใช้

สอยในการ

ประกอบพิ

ธี

กรรมส�

ำหรั

บพระภิ

กษุ

ประมาณ 6-10 รูปเท่

านั้

น แสดงถึ

งความเรี

ยบง่

าย

และสมถะ สิ

มตามประเพณี

ดั้

งเดิ

มของชาวอี

สานมี

สองรูปแบบคื

อ สิ

มโปร่

กับสิมทึบ ซึ่งสิมทึบนี้เองที่ปรากฏศิลปกรรมพื้นถิ่นที่มีเสน่ห์ยิ่ง นั่

นคือการประดับ

ตกแต่งด้วยภาพเขี

ยนทั้

งบนผนั

งด้านนอกและด้านใน ภาพเขี

ยนนี้

เรี

ยกว่า ฮูปแต้ม

ในส่วนประดับของสถาปตยกรรมทางศาสนา ช�

ำนาญ เล็กบรรจง (2545) ศึกษา

ลั

กษณะและรูปแบบลวดลายประดั

บสถาปั

ตยกรรมทางศาสนาในภาคอี

สาน พบว่

ลั

กษณะของลวดลายประดั

บสถาปั

ตยกรรมทางศาสนาเป็

นลวดลายที่

ช่

างได้

แนวคิ

จากธรรมชาติ

และลายไทยถ่

ายทอดสื

บต่

อกั

นมาแบบตระกูลชั่

งสามารถประยุ

กต์

ดั

ดแปลงให้เหมาะสมกั

บลั

กษณะสถาปัตยกรรมไทยได้ดี

การเรี

ยกชื่

อลวดลายและ