246
โสวัฒนธรรม
ช่
วงทศวรรษที่
ผ่
านมาเป็
นยุ
คแห่
งการรื้
อฟื้
นวั
ฒนธรรมและภูมิ
ปั
ญญาดั้
งเดิ
ม
ของไทย มี
งานค้นคว้าวิ
จั
ยปรากฏอยู่ในประเทศเป็นจ�
ำนวนมาก ทั้
งการศึ
กษาวิ
จั
ย
อย่างไม่เป็นทางการและการศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างเป็นทางการ การสร้างกระแส
การแสวงหาความรู้
โดยท้
องถิ่
นที่
เรี
ยกว่
า “วั
ฒนธรรมชุ
มชน” โดยองค์
กรท้
องถิ่
น
พิ
พิ
ธภั
ณฑ์ สถาบั
นการศึ
กษา ศูนย์วั
ฒนธรรมท้องถิ่
น ปราชญ์ผู้รู้ท้องถิ่
น ตลอดจน
การมี
ศูนย์
วั
ฒนธรรมท้
องถิ่
นในท้
องถิ่
น โรงเรี
ยน วั
ด ชุ
มชน ท�
ำให้
การแสวงหาความรู้
ทางวั
ฒนธรรมและภูมิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นเกิ
ดขึ้
นอย่
างต่
อเนื่
อง อย่
างไรก็
ตามการละเลย
ในคุ
ณค่
าของวั
ฒนธรรมท้
องถิ่
นของคนรุ
่
นใหม่
กลั
บเป็
นสาเหตุ
ส�ำคั
ญของการน�
ำ
ความรู้ทางวั
ฒนธรรมเพื่
อมาประยุ
กต์ใช้ในการพั
ฒนาอย่างยั่
งยื
น แม้ในเป้าหมาย
ของการพั
ฒนาในปั
จจุ
บั
นจะได้
มุ
่
งเน้
นการพั
ฒนาที่
มาจากความเข้
มแข็
งทาง
วั
ฒนธรรมของชุ
มชนก็
ตาม
การให้
นิ
ยามความหมายทางวั
ฒนธรรมในลั
กษณะนามธรรม ก็
อาจเป็
น
เหตุ
ผลส�
ำคั
ญประการหนึ่
งในการใช้
มิ
ติ
วั
ฒนธรรมในการพั
ฒนา ส�
ำหรั
บในกรอบ
การประเมิ
นทางด้
านศิ
ลปวั
ฒนธรรม ได้
ก�ำหนดใช้
กรอบในการประเมิ
นโดยให้
ความ
หมายของค�ำว่าศิลปวัฒนธรรม อันหมายถึงการศึกษาผลงานที่เป็นการแสดงออก
ของการเป็นสมาชิกทางสังคมอันประกอบไปด้วย ความรู้ ภูมิปัญญา หัตถกรรม
การช่าง การทอผ้า การน�
ำความรู้ทางวั
ฒนธรรมมาแปลงเป็นผลิ
ตภั
ณฑ์ใหม่
ดั
งนั้
นการประเมิ
นผลงานด้
านศิ
ลปวั
ฒนธรรม ตามกรอบการรวบรวมผลงาน
เพื่
อการประมวลผลงานในช่วงทศวรรษที่
ผ่านมา จึ
งครอบคลุ
มศิ
ลปวั
ฒนธรรม ใน
ความหมายถึ
งการศึ
กษาเรื่
องราวที่
เกี่
ยวข้
องกั
บการศึ
กษาค้
นคว้
าวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้
อง
กั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตทั้
งในส่
วนที่
เป็
นผลผลิ
ตทางวั
ฒนธรรมที่
เป็
นรูปธรรม วั
ฒนธรรมที่
เป็
น
วิ
ถี
ชี
วิ
ตของชุ
มชน ดั
งนั้
นในการรวบรวมผลงานในกรอบศิ
ลปวั
ฒนธรรมจึ
งครอบคลุ
ม
ทั้
งงานวิ
จั
ยทางด้
านการด�
ำรงชี
พ ผลผลิ
ตทางวั
ฒนธรรมที่
เป็
นรูปธรรมเช่
นงานศิ
ลป
หั
ตถกรรม ค่
านิ
ยม ความคิ
ด ความเชื่
อและศาสนา จารี
ตประเพณี
องค์
ความรู้
ที่
เป็
น
ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่
น ศิ
ลปะการแสดง รวมทั้
งสถาปัตยกรรม ทั้
งนี้
รวมถึ
งผลงานการ
วิ
จั
ย วิ
ทยานิ
พนธ์ บทความ หนั
งสื
อทางวิ
ชาการ