204
โสวัฒนธรรม
อี
สาน วี
ระ ภาคอุ
ทั
ยและคนอื่
นๆ (2538) วิ
จั
ยเรื่
องแผนการจั
ดการป่าไม้จากเบื้
อง
ล่
าง อรทั
ย ศรี
ทองธรรม (2541) เรื่
องวั
ฒนธรรมความเชื่
อหมู่
บ้
านอี
สานในการอนุ
รั
กษ์
ป่
าชุ
มชน และงานวิ
จั
ยของชื่
น ศรี
สวั
สดิ์
(2545) เรื่
องการจั
ดการป่
าไม้
โดยใช้
มิ
ติ
ทาง
วั
ฒนธรรม: กรณี
ศึ
กษาชุ
มชนในจั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
เป็
นต้
น ซึ่
งสามารถแบ่
งหั
วข้
อ
วิ
จั
ยออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ เป็น 4 กลุ่มดั
งนี้
คื
อ
1. การพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง
จ�
ำนวน 8 เรื่
อง ที่
กล่
าวถึ
งกระบวนการ
สร้
างความเข้
มแข็
งให้
แก่
ชุ
มชนในภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อเช่
น ผลงานวิ
จั
ยของ
ปฤษฎา บุ
ญเจื
อ (2536) เรื่
องการมีส่
วนร่
วมของประชาชนในการพั
ฒนาชุมชน :
ศึ
กษาเฉพาะกรณี
โครงการประสานความร่
วมมื
อพั
ฒนาทุ
่
งกุ
ลาร้
องไห้
จั
งหวั
ดร้
อยเอ็
ด
พบว่าประชาชนในโครงการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนใน
ระดั
บปานกลาง เพศ รายได้
ความรู้
ความเข้
าใจเกี่
ยวกั
บการพั
ฒนาชุ
มชน การ
เป็นสมาชิ
ก กลุ่มกิ
จกรรมการพั
ฒนา ความเป็นผู้น�
ำและการคาดหวั
งผลตอบแทน
มี
ความสั
มพั
นธ์กั
บการมี
ส่วนร่วมของประชาชนในการพั
ฒนาชุ
มชน
งานของวราคนา วงศ์มหาชั
ย (2536) เรื่
องบทบาทผู้น�
ำในการพั
ฒนาองค์กร
ประชาชน : ศึ
กษาเฉพาะกรณี
การพั
ฒนาองค์
กรประชาชนระหว่
างชุ
มชนของมูลนิ
ธิ
พั
ฒนาอี
สาน พบว่
าบทบาทของผู้
น�ำในการพั
ฒนากลุ่
มมี
ขั้
นการก่
อตั
วของกลุ
่
ม เป็
น
บทบาทของการประชุมให้ข้อมูลข่าวสาร ขั้นการด�ำเนิ
นการของกลุ่มเป็นบทบาทผู้
บริหารวางแบบแผนด�ำเนิ
นการจั
ดสรรทรั
พยากรบุคคลให้
เหมาะสม ขั้
นการเจริ
ญ
เติ
บโตของกลุ่มเป็นบทบาทผู้บริ
หารเป็นผู้รั
บปรั
บปรุ
งระเบี
ยบ กฎ และการด�
ำเนิ
น
การของกลุ่มให้สอดคล้องกั
บสถานการณ์
ปัญหาและอุ
ปสรรคผู้น�
ำมี
ปัญหาในการ
แสวงบทบาทในเรื่
องการวางแผน
งานของกฤตกร กล่
อมจิ
ต (2537) เรื่
องการศึ
กษาผลกระทบการจั
ดการศึ
กษา
ขององค์
กรต่
างๆ ที่
มี
ผลต่
อการพั
ฒนาหมู่
บ้
านในชนบทอี
สาน พบว่
า ผลกระทบของ
การจั
ดการศึ
กษาขององค์
กรต่
างๆ ที่
มี
ผลต่
อการพั
ฒนาชนบท หมู่
บ้
านที่
มี
กิ
จกรรม
ทางการศึ
กษามากจะมี
การพั
ฒนาทั้
งบุ
คคลและชุ
มชนมาก และหมู่
บ้
านที่
มี
กิ
จกรรม
ทางการศึ
กษาน้อยจะมี
การพั
ฒนาบุ
คคลและชุ
มชนน้อย