งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
201
ขาย รั
บจ้าง ถี
บสามล้อ ด้านเศรษฐกิ
จ ก่อนหน้าภาวะวิ
กฤติ
เศรษฐกิ
จผู้ย้ายถิ่
นใน
ระยะเวลาสั้
นๆ โดยเกิ
ดจากความแห้งแล้งจนไม่สามารถประกอบอาชี
พได้ จากผล
งานวิ
จั
ย 17 เรื่
องนั้
นสามารถสรุ
ปภาพโดยรวมได้
ว่
า สภาพเศรษฐกิ
จของครอบชาว
อี
สานที่
ยากจนนั้
นมี
อาชี
พหลั
ก 2 อาชี
พคื
อ อาชี
พเกษตรกรรมและอาชี
พรั
บจ้
าง ส่
วน
สาเหตุ
ที่
ท�
ำให้ฐานะทางเศรษฐกิ
จอยู่ในเกณฑ์ที่
ต�่
ำนั้
นมี
สาเหตุ
หลายประการ อาทิ
เช่
น พื้
นฐานครอบครั
วมี
ฐานะยากจน การศึ
กษาต�่
ำ ขาดการวางแผนชี
วิ
ตที่
ดี
มี
ที่
ดิ
น
ท�ำกินน้อยหรือไม่มีที่ดินท�
ำกิน จึงก่อให้เกิดภาวะหนี้สินซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นหนี้สิน
นอกระบบ จากปั
ญหาความยากจนดั
งกล่
าวรั
ฐพยายามที่
จะแก้
ปั
ญหาความยากจน
ให้ลดลงจึ
งมี
การจั
ดตั้
งหน่วยงานต่างๆ ขึ้
นมาเพื่
อให้ความช่วยเหลื
อ เช่นการจั
ดตั้
ง
กองทุ
นหมู่
บ้
านละล้
าน โครงการ SME การส่
งเสริ
มสิ
นค้
า OTOP และอาชี
พเสริ
มต่
างๆ
อี
กเป็นจ�
ำนวนมากแต่ปัญหาความยากจนก็
ยั
งไม่ลดลงตามเป้าหมายของรั
ฐบาล
การศึ
กษาวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้
องกั
บแรงงานภาคอี
สานในช่
วงระยะเวลา 10 ปี
(2535-2545) ที่
ผ่านมาจะมี
ผลงานที่
เกี่
ยวข้องกั
บแรงงานโดยรวม จ�
ำนวน 35 เรื่
อง
เช่
น ผลงานวิ
จั
ยของบั
ณฑิ
ต ถิ่
นค�
ำรพ (2538-2539) เรื่
องปั
ญหาสั
งคมและสาธารณสุ
ข
ของคนงานก่
อสร้
าง : การศึ
กษาเปรี
ยบเที
ยบระหว่
างขอนแก่
นและหนองคาย ผลงาน
วิจัยของผ่องเพ็ญ เจียมสาธิต (2539) เรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัว
ของแรงงานไทยในสิงคโปร์ ผลงานวิจัยของประภัสสร สุธรรมวิจิตร (2541) เรื่อง
การดูแลสุ
ขภาพของผู้
ใช้
แรงงานก่
อสร้
าง : ศึ
กษาเฉพาะกรณี
แรงงานก่
อสร้
างใน
เขตเทศบาลนครขอนแก่น จั
งหวั
ดขอนแก่น เป็นต้น จากผลงานวิ
จั
ยเหล่านั้
นมี
การ
กล่าวถึ
งประเด็นต่างๆ ที่
เกี่
ยวข้องกั
บแรงงานพอสรุ
ปได้ดั
งนี้
คื
อ
1. สาเหตุ
เป็
นการกล่
าวถึ
งสาเหตุ
ที่
น�
ำไปสู่
การเข้
าสู่
อาชี
พขายแรงงานว่
ามี
สาเหตุ
หลายประการเช่
น การขาดที่
ดิ
นท�ำกิ
น มี
ภาระหนี้
สิ
น ความยากจน ดิ
นท�ำกิ
น
ขาดความอุ
ดมสมบูรณ์ ภาวะแปรปรวนของธรรมชาติ
อาชี
พด้านการเกษตรไม่พอ
เลี้ยงครอบครัว มีปัญหาครอบครัว ค่าตอบแทนค่าแรงงานสูงกว่าภาคการเกษตร
ถูกชั
กชวน ล่
อลวง เลี
ยนแบบหรื
อเอาอย่
าง คนในชุ
มชนที่
ประสบผลส�
ำเร็
จที่
มี
ฐานะ
ความเป็นอยู่ดี
ขึ้
น