198
โสวัฒนธรรม
ผลิ
ตเพื่
อการยั
งชี
พ เป็
นการผลิ
ตเพื่
อการค้
า ซึ่
งมี
สาเหตุ
มาจากการศึ
กษา การ
เพิ่
มประชากรและอ�
ำนาจรั
ฐ พรเพ็
ญ ทั
บเปลี่
ยน (2541) วิ
จั
ยเรื่
องการวิ
เคราะห์
ความอยู่
รอดของชุ
มชนในระบบเศรษฐกิ
จเพื่
อการค้
า พบว่
าชุ
มชนจะอยู่
รอดได้
ในระบบเศรษฐกิ
จเพื่
อการค้
าก็
ต่
อเมื่
อชุ
มชนสามารถที่
จะเปลี่
ยนแปลงโครงสร้
าง
ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างระบบเศรษฐกิ
จชุ
มชนกั
บระบบเศรษฐกิ
จที่
เหนื
อกว่
าให้
เป็
น
ความสั
มพั
นธ์
แบบสมดุ
ล จะท�
ำให้
ชุ
ชนมี
อ�
ำนาจในการต่
อรองทางเศรษฐกิ
จและ
ลดความเสียเปรียบจากกระบวนการทางเศรษฐกิจได้ กรรณิ
การ์ ศรีฉลวย (2536)
วิ
จั
ยเรื่
องหมอนขิ
ดที่
บ้
านศรี
ฐาน จั
งหวั
ดยโสธร ที่
เสนอให้
มี
การพั
ฒนารูปแบบ
ของหมอนขิ
ดให้
มี
ความหลากหลาย เหมาะสมกั
บการใช้
งานและสอดคล้
องกั
บ
ความต้
องการของสั
งคมปั
จจุ
บั
น ผลงานวิ
จั
ยของสุ
กั
ญญา เอมอิ่
มธรรม (2546)
เรื่
องการประกอบธุ
กิ
จชุ
มชนเพื่
อการพั
ฒนาอาชี
พ จั
งหวั
ดขอนแก่
น ได้
เสนอให้
มี
กลุ่มหรือองค์กรชุมชนร่วมเป็นเจ้าของธุรกิจขนาดเล็กใช้ต้นทุนต�่
ำ การบริหารเป็น
ไปอย่
างใกล้
ชิ
ดซึ่
งก็
สอดคล้
องกั
บแนวคิ
ดเศรษฐกิ
จพอเพี
ยงของพระบาทสมเด็
จ
พระเจ้
าอยู่
หั
ว สุ
ปราณี
ลั
กษณะศิ
โย (2540) ได้
ท�
ำการวิ
จั
ยเรื่
องกระบวนการ
ประกอบอาชี
พตั
ดเย็
บเสื้
อผ้
าสตรี
ในเขตเทศบาลเมื
องมหาสารคาม พบว่
า
ผู้
ประกอบอาชี
พสามารถยึ
ดเป็
นอาชี
พหลั
กได้
ส่
วนผลกระทบทางด้
านสั
งคมพบ
ว่
าท�
ำให้
ครอบครั
วอบอุ
่
นเพราะไม่
ต้
องออกไปท�
ำงานนอกบ้
าน สุ
พจน์
หารพรม
(2540) วิจัยเรื่องศักยภาพเชิงเศรษฐกิจของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผลิตสมุนไพรผง
บ้านห้วยซ้อซับสมบูรณ์ จังหวัดขอนแก่น พบว่าการแปรรูปสมุนไพรผง สามารถ
พั
ฒนาได้ทั้
งในด้านปริ
มาณและคุ
ณภาพ ก่อให้เกิ
ดรายได้เพิ่
มขึ้
นมาก เป็นต้น ซึ่
ง
ผลงานวิ
จั
ยต่างๆ เหล่านั้
น มี
เนื้
อหาโดยสรุ
ปได้ว่า การแทรกตั
วของระบบทุ
นนิ
ยม
เข้
าสู่
เศรษฐกิ
จแบบพึ่
งตนเองของชาวนา ท�
ำให้
ชาวนาต้
องเผชิ
ญความเสี่
ยงเพิ่
มขึ้
น
ดั
งนั้นยุ
ทธศาสตร์
ที่
ส�
ำคั
ญที่
จะรั
กษาชุ
มชนภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อให้
อยู่รอดมี
ดั
งนี้
คื
อ
1) น�
ำกระบวนการผลิ
ตเพื่
อการบริ
โภคภายในครอบครั
วมาใช้
ควบคู่
ไปกั
บ
กระบวนการผลิ
ตเพื่
อการค้า