งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
193
การศึ
กษาต่
างๆ ในภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อจั
ดขึ้
นและได้
พิ
มพ์
เป็
นเอกสารเผยแพร่
ต่อสาธารณะอย่างกว้างขวาง
นอกจากปราชญ์
ทางสั
งคมศาสตร์
ดั
งกล่
าวแล้
วโรงเรี
ยนทั้
งในระดั
บ
ประถมศึ
กษาและมั
ธยมศึ
กษาได้
จั
ดท�
ำหลั
กสูตรในการศึ
กษาภูมิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
น
และท�
ำหน้
าที่
เป็
นศูนย์
ข้
อมูลท้
องถิ่
นให้
แก่
ผู้
ที่
สนใจได้
เข้
าไปศึ
กษาค้
นคว้
าหาความรู้
อย่
างต่
อเนื่
องเช่
นผลงานของพวงรั
ตน์
วิ
ทยตมาภรณ์
(2541) การศึ
กษาการใช้
แหล่
ง
ความรู้
ในชุ
มชนในการเรี
ยนการสอนกลุ่
มสร้
างเสริ
มประสบการณ์
ชี
วิ
ต (สั
งคมศึ
กษา)
ในโรงเรี
ยนประถมศึ
กษา พบว่
าครูผู้
สอนใช้
แหล่
งความรู้
ในการเรี
ยนการสอนในระดั
บ
ปานกลาง โดยน�
ำความรู้
มาจากพิ
ธี
กรรมในวั
นส�
ำคั
ญทางศาสนาที่
ชุ
มชนจั
ดขึ้
น
และกิ
จกรรมทางประเพณี
เช่
น บุ
ญบั้
งไฟ บุ
ญข้
าวจี่
เป็
นต้
น ครูผู้
สอนจะน�
ำนั
กเรี
ยน
ออกไปศึ
กษาและร่
วมกิ
จกรรมที่
ชุ
มชนจั
ดขึ้
นและน�
ำสิ่
งแวดล้
อมที่
อยู่
ตามธรรมชาติ
มาประกอบการเรี
ยนการสอน ผลงานวิ
จั
ยของ วิ
ลาวั
ลย์ เอื้
อวงศ์กูล (2541) ความ
สัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการของเมืองกับการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม : กรณีศึกษา
เมืองเรณูนคร พบว่าการจะรักษาวัฒนธรรมชุมชนให้ยั่งยืนควบคู่ไปกับการพัฒนา
เมื
องจะต้
องไม่
มองวั
ฒนธรรมว่
าเป็
นสิ่
งที่
หยุ
คนิ่
ง การใช้
พื้
นที่
เมื
องเพื่
อให้
เกิ
ด
กิ
จกรรมทางวั
ฒนธรรมไม่
ควรกระจุ
กอยู่
ที่
ใดที่
หนึ่
งจนเกิ
นไป ศูนย์
วั
ฒนธรรมท้
องถิ่
น
ควรมี
บทบาทและมี
การใช้
ประโยชน์
พื้
นที่
อย่
างเต็
มที่
ชุ
มชนควรมี
ส่
วนร่
วมในการ
ก�
ำหนด
เกร็ดความรู้
จ�
ำนวน 10 เรื่
อง ซึ่
งประกอบด้
วยเกร็
ดความรู้
ด้
าน
ประวั
ติ
ศาสตร์ โบราณคดี
ขนบธรรมเนี
ยมประเพณี
ตลอดจนกิ
จกรรมต่างๆ ในวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวอี
สานทั้
งในรูปแบบของบทความ ผญา กลอนล�ำ ฯลฯ เช่
นผลงานเขี
ยน
ของสุ
ทิ
น สนองผั
น (2540) จากเมื
องสิ
บเอ็
ดฝั
กตู สิ
บแปดป่
องเอี้
ยม ซาวเก้
าแม่
ขั้
นได :
เมื
องที่
มี
ชื่
อประหลาดในดิ
นแดนอี
สาน สู่
ความสั
มพั
นธ์
กั
บเครื
อข่
ายทางสั
งคม
ใกล้
เคี
ยง งานชิ้
นนี้
เป็
นบทความเกี่
ยวกั
บเมื
องร้
อยเอ็
ด ซึ่
งเป็
นชื่
อเมื
องที่
แปลกใน
ดิ
นแดนอี
สานสู่
ความสั
มพั
นธ์
กั
บเครื
อข่
ายทางสั
งคมใกล้
เคี
ยง กล่
าวได้
ว่
าเมื
อง
ร้อยเอ็ดเป็นเมืองโบราณที่มีความส�ำคัญยิ่งในแถบลุ่มน�้ำชี การล่มสลายของเมือง