งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
195
แผนพั
ฒนาเศรษฐกิ
จและสั
งคมแห่
งชาติ
ฉบั
บที่
1 (2504-2509) เป็
นต้
นมาจนปั
จจุ
บั
น
ระบบเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉี
ยงเหนือก็เข้าสู่ระบบทุนนิยมเต็มตัว ดังจะเห็นได้
จากผลงานวิ
จั
ยตอไปนี้
มณี
วรรณ บั
วจูม (2539) ได้
ศึ
กษาวิ
จั
ยวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวบ้
านเวิ
น ต�
ำบล
โนนศรีงาม อ�ำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ พบว่าบ้านเวินมีลักษณะเป็นชุมชน
พึ่
งตนเอง ใช้
ภูมิ
ปั
ญญาชาวบ้
านในด้
านต่
างๆ เช่
น บริ
โภคอาหารที่
ได้
จากแหล่
ง
ธรรมชาติ
และรั
กษาโรคด้
วยสมุ
นไพร โกเมท บุ
ญไชย (2542) ศึ
กษาพั
ฒนาการ
ชุมชนริมฝั่งแม่น�้
ำชี : ศึกษากรณี
บ้านท่าไคร้ อ�
ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด พบ
ว่
าพั
ฒนาการด้
านเศรษฐกิ
จของบ้
านท่
าไคร้
ในอดี
ตเริ่
มจากการท�
ำนา หลั
งจาก
รั
ฐบาลประกาศใช้แผนพั
ฒนาเศรษฐกิ
จและสั
งคมแห่งชาติ
ฉบั
บที่
1 เป็นต้นมา ก็
เริ่
มมี
การค้
าขายมากขึ้
น การพึ่
งพาอาศั
ยกั
นของคนในชุ
มชนลดลง ชอบ ดี
สวนโคก
(2543) ศึ
กษาเศรษฐกิ
จชุ
มชนหมู่
บ้
านอี
สาน : ประวั
ติ
ศาสตร์
เศรษฐกิ
จอี
สาน
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงปัจจุบัน พบว่า ก่อนจะมีการประกาศใช้แผนพัฒนา
เศรษฐกิ
จและสั
งคมแห่งชาติ
สภาพเศรษฐกิ
จ สั
งคมและวั
ฒนธรรมเป็นแบบพึ่
งพา
ตนเอง พึ่
งพาธรรมชาติ
และพึ่
งพาสิ่
งที่
เหนื
อธรรมชาติ
ชาวบ้
านมี
การช่
วยเหลื
อ
เอื้
อเฟื
้
อกั
นในชุ
มชน ต่
อมาชุ
มชนอี
สานเปลี่
ยนแปลงไปอย่
างเห็
นได้
ชั
ด กล่
าวคื
อ
การช่
วยเหลือจากญาติพี่น้
องลดลง การรักษาพยาบาลจะไม่
ใช้ยากลางบ้านหรือ
สมุ
นไพรและการเซ่นไหว้ผี
แบบดั้
งเดิ
มลดลงมาก
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มี
ผลงานวิ
จั
ยจ�
ำนวน 27 เรื่
อง เนื้
อหาโดยรวมกล่
าวถึ
งสาเหตุ
แห่
งการ
เปลี่
ยนแปลงทางเศรษฐกิ
จของชุ
มชนภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อว่
า ความเจริ
ญที่
เกิ
ดขึ้
นอย่
างรวดเร็
ว เป็
นผลให้
เกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงทั้
งทางด้
านสั
งคมและด้
าน
เศรษฐกิ
จ กลายเป็
นเศรษฐกิ
จเพื่
อการค้
ามากขึ้
น มี
ความสลั
บซั
บซ้
อนมากขึ้
น
ท�ำให้
เศรษฐกิจของชุมชนเข้
าไปผูกติดกับกลไกของตลาดมากขึ้น ชุมชนต้
องปรับ
เปลี่
ยนระบบการผลิ
ตโดยการน�
ำเอาเทคโนโลยี
สมั
ยใหม่
เข้
ามาใช้
เพื่
อตอบสนอง